ช่วงเย็นของ 15 ธ.ค.59 มีผู้คนสนใจเรื่อง “พรบคอม” มากที่สุด

twitter singlegateway
twitter singlegateway

ดู “ความนิยม (Trends)” ใน twitter.com หน้าแรก
พบด้านซ้ายจะมี hash tag
บอกว่าช่วงนี้เค้าติด hash tag ด้วยคำว่าอะไร
ซึ่งบอกถึงแนวโน้มของความสนใจของผู้คน
อย่างเช่นวันที่ 15 ธันวาคม 2559
พบว่ามี hash tag ที่สัมพันธ์กันอยู่ 3 คำ คือ

#พรบคอม 4.06 ส. ทวีต
#singlegateway 2.51 ม. ทวีต
#ไม่ค้านผ่านแน่ 2,123 ทวีต

และเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ
แล้วเข้าเว็บไซต์ของกระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
http://www.mict.go.th
พบว่า ก.ไอซีที แจงข้อเท็จจริงเนื้อหาร่าง พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ฯ มาตรา 15 และ 20
http://www.mict.go.th/view/1/%E0%B8%82%E0%B9%88%E0%B8%B2%E0%B8%A7%E0%B8%81%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%97%E0%B8%A3%E0%B8%A7%E0%B8%87%E0%B8%AF/1964

ข่าวนี้อ่านเพิ่มเติมได้ที่
http://www.matichon.co.th/news/395549

อธิบายที่มาของ Hashtag
http://www.aripfan.com/u-know-why-hashtag/

เว็บไซต์ kapook อธิบายเรื่อง single gateway ได้ละเอียด
http://hilight.kapook.com/view/126924

info singlegateway
info singlegateway

วิวัฒนาการของการสื่อสาร (ล้อเลียน)

the evolution of communication
the evolution of communication

เรื่องวิวัฒนาการของมนุษย์ยังมีข้อถกเถียงกันว่าเรามาจากอะไร แนวคิดมีหลายทฤษฎี เมื่อได้เห็นภาพนี้ผมเกิดคำถามตามที่ สกอ.ได้ให้แนวการตั้งคำถามไว้ 5 คำ คือ who, what, when, where และ why เพื่อประกอบการทำความเข้าใจเกี่ยวกับ วิวัฒนาการของการสื่อสาร (The evolution of communication)

ภาพนี้สะท้อนว่า
พฤติกรรมของมนุษย์ก้าวไปไม่ถูกทาง
โดย Mike Keefe  2009

เมื่อพิจารณาภาพแล้วพอจะเชื่อได้ว่า เขียนโดยนักเขียนการ์ตูนชื่อ Mike Keefe คงคล้ายกับคุณชัย ราชวัตร ไทยรัฐ ที่เขียนลง The Denver Post, dePIXion Features เมื่อ 30 มีนาคม 2009 Colorado U.S.
http://www.denverpost.com/
http://digitaljournos.wordpress.com/2009/03/30/the-evolution-of-communication/

แล้วภาพก็ถูกนำไปใช้ประกอบเกี่ยวกับการสื่อสารมากมาย เช่น Bettinajohnson นำภาพไป post เมื่อ Dec 15,2010 ประกอบบทความเรื่อง The evolution from “one-way” communication to “two-way”
http://bettinajohnson.com/blog/the-evolution-from-one-way-communication-to-two-way/

ความหมายของภาพเล่าถึง 5 ยุค
1. ยุคหิน ย้ายงานเขียนไม่ได้
2. ยุคสิ่งพิมพ์ ย้ายงานเขียนได้
3. ยุคสิ่งพิมพ์มีขนาดเล็ก เขียนเป็นเล่ม
4. ยุคอีเมล เขียนกับอุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์
5. ยุคทวีต การเขียนมีไม่เกิน 140 ตัวอักษร

ชัย ราชวัตรถูกแจ้ง 3 ข้อหาหนัก โพสต์หมิ่นนายกฯปู

แจ้ง 3 ข้อหาหนัก “ชัย ราชวัตร” โพสต์หมิ่นนายกฯปู
ที่มา เดลินิวส์ออนไลน์

ชัย ราชวัตร
ชัย ราชวัตร

จาก ASTV ผู้จัดการรายสัปดาห์ อ้างอิงว่า ได้ข้อความจาก twitter ของ ชัย ราชวัตร ซึ่งสงสัยว่าจะเป็น Fan page หรือ Time line แต่ละสื่อก็จะแตกต่างกันไป เพราะระดับการเข้าถึง social media แต่ละบริการ มีความแตกต่างกัน

http://www.manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?NewsID=9560000053468

ทนายความ “นายกฯ ยิ่งลักษณ์” หอบหลักฐานขึ้น สน.ดุสิต แจ้งความดำเนินคดี “ชัย ราชวัตร” ข้อหาดูหมิ่นประมาทเจ้าพนักงานขณะปฎิบัติหน้าที่ หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา และ ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์ หลังโพสต์ข้อความฉาวในเฟซบุ๊กส่วนตัว ระบุถือเป็นการติชมโดยไม่สุจริต ไม่มีมูลความจริง ให้ร้ายทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง


เมื่อเวลา 15.20 น. วันที่ 3 พ.ค.2556
ที่ สน.ดุสิต นายนรวิชญ์ หล้าแหล่ง จากสำนักงานอาภาวิชญ์ทนายความธุรกิจและการบัญชี ในฐานะทีมทนายความ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี เดินทางมาเเจ้งความดำเนินคดีนายสมชัย กตัญญุตานันท์ หรือ “ชัย ราชวัตร” การ์ตูนนิสต์ล้อการเมืองชื่อดัง กรณีนายสมชัยได้แสดงความคิดเห็นทางการเมืองอย่างรุนแรงผ่านทางเฟซบุ๊กส่วนตัว โดยเขียนข้อความเปรียบเรื่องผู้หญิงขายบริการ เปรียบเทียบกับเหตุการณ์ที่ น.ส.ยิ่งลักษณ์ ชินวัตร นายกรัฐมนตรี ไปปาฐกถาเรื่องประชาธิปไตยเวทีประชาธิปไตยที่ประเทศมองโกเลีย โดยมี พ.ต.อ.ภัทรภณ สนิทวงศ์ ณ อยุธยา ผกก.สน.ดุสิต มารับมอบหนังสือ

นายนรวิชญ์ กล่าวว่า ในวันนี้ได้รับมอบหมายจากนายกรัฐมนตรีให้มาเเจ้งความดำเนินคดีกับนายสมชัยในข้อหา

1. ดูหมิ่นประมาทเจ้าพนักงานขณะปฎิบัติหน้าที่
2. หมิ่นประมาทโดยการโฆษณา
3. ความผิดตาม พ.ร.บ.คอมพิวเตอร์

เนื่องจากนายสมชัยได้โพสข้อความทำนองหมิ่นประมาทในเฟซบุ๊กส่วนตัว ซึ่งถือเป็นการติชมโดยไม่สุจริต ไม่มีมูลความจริง และเป็นการให้ร้ายทำให้เสื่อมเสียชื่อเสียง ซึ่งตนได้นำเอกสารและหลักฐาน อาทิ ภาพการโพสต์ข้อความผ่านทางเฟซบุ๊กของ ชัย ราชวัตร และข่าวจากสื่อออนไลน์ มามอบให้กับเจ้าหน้าที่ตำรวจ ขณะที่เบื้องต้นยังไม่มีการเรียกร้องค่าเสียหาย อย่างไรก็ตาม ทางเจ้าหน้าที่ตำรวจ ได้รับเรื่องดังกล่าวไว้เพื่อดำเนินการต่อไป

http://mufbkzw.udon-city.com/show_newudon.php?id_prd=3888
http://www.go6tv.com/2013/05/3.html
http://www.manager.co.th/crime/viewnews.aspx?NewsID=9560000076273
http://director.sakonarea1.go.th/index.php/login/93-3
http://www.dailynews.co.th/crime/201922

เท่าที่อ่านข่าวน่าจะเข้า มาตรา ๑๔ .. (๒) นําเข้าสู่ระบบคอมพิวเตอร์ซึ่งข้อมูลคอมพิวเตอร์อันเป็นเท็จ โดยประการที่น่าจะเกิด ความเสียหายต่อความมั่นคงของประเทศหรือก่อให้เกิดความตื่นตระหนกแก่ประชาชน
ตามมาตรานี้ ต้องระวางโทษจําคุกไม่เกินห้าปี หรือปรับไม่เกินหนึ่งแสนบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ

ชัย ราชวัตร โพสต์เฟซบุ๊กระบุ
เตรียมเข้ารายงานตัวคดีถูกนายกฯฟ้องหมิ่น ลั่นไม่ใช่คนตาขาวคิดหนีคดี

เมื่อวันที่ 3 มิ.ย.2556 นายสมชัย กตัญญตานันท์ หรือ ชัย ราชวัตร การ์ตูนนิสต์หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊คส่วนตัว “Chai Rachawat” ว่า ว่างเว้นจากการสื่อสารกับเพื่อนพ้องบนเฟซบุ๊คในระยะนี้ ด้วยเหตุคดีที่ถูกน.ส.ยิ่งลักษณ์ (ชินวัตร นายกรัฐมนตรี)ฟ้องร้องข้อหาหมิ่นประมาทกำลังเข้าสู่กระบวนการทางกฏหมาย การโพสต์ข้อความอะไรออกไปต้องระมัดระวังเป็นพิเศษ เพื่อไม่ให้เป็นภาระเพิ่มแก่ทีมกฏหมาย จึงต้องสงบปากสงบคำไปก่อน และใคร่ขอชี้แจงทำความเข้าใจ 2 เรื่องดังนี้

1. ตามที่สำนักงานตำรวจแห่งชาติมีหมายแจ้งมาให้ไปรายงานตัววันที่ 5 มิ.ย.นี้ กำลังขอคำปรึกษาจากทนายเพื่อกำหนดวันไปรายงานตัวเอง จะเป็นวันไหนยังไม่แน่นอนครับ แต่การข่มขู่คุกคามกันว่าจะออกหมายจับนั้นอย่าหวังว่าจะมีวันนั้น คน ๆ นี้ไม่ใช่คนตาขาวจนคิดหนีคดี

2. ตามที่หลายท่านได้ quote นสพ.โพสต์ทูเดย์ว่าผมกำลังจะวางมือ เป็นความจริงที่ผมให้สัมภาษณ์คุณชัยฤทธิ์ไปเช่นนั้น ภารกิจสุดท้ายคือการวางมือจริง ๆ แต่ผมยังไม่วางอาวุธของผมแล้วเดินหันหลังกลับในขณะที่เพื่อนร่วมทางยังติดพันอยู่กับการสู้รบ แม้จะถูกพันธนาการด้วยขื่อคาของกฏหมายหรือเหตุใดก็ตาม ถ้ายังส่งเสียงให้กำลังใจเพื่อนได้ด้วยเสียงร้องเท่านั้นก็จะแหกปากร้องครับ

หากมีอะไรคืบหน้านอกเหนือจากนี้จะรายงานให้ทราบเป็นระยะ ๆ ครับ

http://www.posttoday.com/%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%87/226129/%E0%B8%8A%E0%B8%B1%E0%B8%A2-%E0%B8%A3%E0%B8%B2%E0%B8%8A%E0%B8%A7%E0%B8%B1%E0%B8%95%E0%B8%A3-%E0%B8%A2%E0%B8%B1%E0%B8%99%E0%B8%9E%E0%B8%A3%E0%B9%89%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%AA%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B8%84%E0%B8%94%E0%B8%B5%E0%B8%AB%E0%B8%A1%E0%B8%B4%E0%B9%88%E0%B8%99%E0%B8%99%E0%B8%B2%E0%B8%A2%E0%B8%81%E0%B8%AF

เริ่มต้นเรียนรู้ twitter.com

zocialrank of twitter
zocialrank of twitter

http://www.zocialrank.com/twitter/

บทเรียนการ config และใช้ twitter.com
1. upload รูปประจำ profile
2. ยกเลิกการแจ้งเตือน
3. เพิ่มการติดตามให้มากที่สุด
4. retweet เพื่อเริ่มต้นการเรียนรู้
5. favorite ง่ายกว่า retweet

ตรวจสถิติของ twitter.com
อาทิ
http://tweetstats.com/status/udompk
http://tweetstats.com/suthichai
http://tweetstats.com/jomquan
http://twittercounter.com/nationu_news
http://twittercounter.com/adisaklive
http://twittercounter.com/nationretweet

twitter ของเพื่อน ๆ
http://www.twitter.com/nationretweet

http://www.twitter.com/hutpaza
http://www.twitter.com/Cherry_Pornpat
http://www.twitter.com/K_chanokNation
http://www.twitter.com/oom2518
http://www.twitter.com/nuthawan

บทเรียนปรับ blog เชื่อมกับ social media

blog.nation.ac.th
blog.nation.ac.th

บทเรียนปรับ blog ของ http://blog.nation.ac.th (default theme)  เพื่อเชื่อมกับ social media คือ facebook.com twitter.com และ google+ ตามนโยบายของด้านการตลาดของ อ.อุดม ไพรเกษตร ซึ่ง social media ของมหาวิทยาลัยในเบื้องต้นมี 3 แหล่งคือ
1. http://www.facebook.com/NationUNews
2. https://twitter.com/nationu_news
3. http://www.youtube.com/nationuniversity

ปัจจุบัน blog ของมหาวิทยาลัย
ใช้เทคโนโลยีเดียวกับ
http://thumbsup.in.th หรือ http://www.it24hrs.com
แต่ต่างกันที่ themes

ข้อมูลทางเทคนิค
http://developers.facebook.com/docs/reference/plugins/like-box/
header.php

<script type=”text/javascript”>var switchTo5x=true;</script>
<script type=”text/javascript” src=”http://w.sharethis.com/button/buttons.js”></script>
<script type=”text/javascript”>stLight.options({publisher:’33898e33-bca3-43a6-bdf0-d0e62c8d27b7′});</script>


widget


<div id=”fb-root”></div>
<script>(function(d, s, id) {
var js, fjs = d.getElementsByTagName(s)[0];
if (d.getElementById(id)) return;
js = d.createElement(s); js.id = id;
js.src = “//connect.facebook.net/en_US/all.js#xfbml=1&appId=169861339715833″;
fjs.parentNode.insertBefore(js, fjs);
}(document, ‘script’, ‘facebook-jssdk’));</script>
<div data-href=”http://www.facebook.com/NationUNews” data-width=”200″ data-show-faces=”true” data-stream=”true” data-header=”true”></div>
<br />
<br />
<script charset=”utf-8″ src=”http://widgets.twimg.com/j/2/widget.js”></script>
<script>
new TWTR.Widget({
version: 2,
type: ‘profile’,
rpp: 5,
interval: 30000,
width: 200,
height: 200,
theme: {
shell: {
background: ‘#333333’,
color: ‘#ffffff’
},
tweets: {
background: ‘#000000’,
color: ‘#ffffff’,
links: ‘#4aed05’
}
},
features: {
scrollbar: false,
loop: false,
live: false,
behavior: ‘all’
}
}).render().setUser(‘nationu_news’).start();
</script>
<br />
<br />
<span  class=’st_facebook_vcount’ displaytext=’Facebook’></span>
<span  class=’st_twitter_vcount’ displaytext=’Tweet’></span>
<span  class=’st_plusone_vcount’ ></span>

สถิติการจัดอันดับตามจำนวนผู้ติดตามในทวิตเตอร์

top followers
top followers

สถิติการจัดอันดับตามจำนวนผู้ติดตาม (Followers) จากมากไปน้อย ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2555 พบว่า 5 อันดับแรกคือ @Khunnie0624 @Woodytalk @vajiramedhi @Tukky_ching100 @chocoopal จากภาพพบว่า อันดับแรกทิ้งห่างอันดับสองกว่าเท่าตัว สำหรับตารางนี้ สามารถใช้เพื่อเป็นกรณีศึกษา และติดตามการ tweet ของเพื่อนชาวไทยที่ได้รับความนิยม จากชาวทวิตเตอร์ด้วยกัน
ข้อมูลจาก http://www.lab.in.th/thaitrend/rank-follower.php

ผู้ติดตาม (Follower) หมายถึง จำนวนเพื่อนที่ติดตามผู้เขียน หรือรับข่าวสารจากผู้เขียน ไปแสดงในหน้าโฮมของผู้อ่าน ยิ่งมีจำนวนผู้ติดตามมาก ก็ยิ่งที่ทำให้ความคิดเห็นของผู้เขียน ถูกเผยแพร่มาก อาทิ มีผู้อ่าน (Followers) จำนวน 1 ล้านคน เมื่อส่งข้อความ 1 ครั้ง อาจมีเพื่อนที่ติดตามหรือผู้เห็นข้อความนั้นถึง 1 ล้านคน

http://www.facebook.com/NationUNews

https://twitter.com/nationu_news

http://www.youtube.com/nationuniversity

การใช้บริการ sharethis.com

แบ่งปัน เนื้อหา
แบ่งปัน เนื้อหา

sharethis คือ บริการอำนวยความสะดวกในการ share เนื้อหาจากหน้าเว็บเพจ
ส่งถึงหน้า social network ของเพื่อนโดยง่าย
1. สมัครสมาชิกกับ sharethis.com
2. เชื่อมบริการ social network เข้ากับ sharethis.com
3. เลือกใช้บริการเพิ่ม sharethis.com ใน website ของเรา
4. รับ code
<script type=”text/javascript”>var switchTo5x=true;</script>
<script type=”text/javascript” src=”http://w.sharethis.com/button/buttons.js”></script>
<script type=”text/javascript”>stLight.options({publisher: “f53e4e65-4d03-4886-8585-139c248fbbd1”}); </script>
และ
<span class=’st_sharethis_vcount’ displayText=’ShareThis’></span>
<span class=’st_facebook_vcount’ displayText=’Facebook’></span>
<span class=’st_twitter_vcount’ displayText=’Tweet’></span>
<span class=’st_linkedin_vcount’ displayText=’LinkedIn’></span>
<span class=’st_email_vcount’ displayText=’Email’></span>
5. ใส่เข้าไปในเว็บไซต์ของเรา
6. เพื่อนที่เข้ามาในเว็บไซต์สามารถ share content ไปใน social network ของพวกเขา

สำหรับ wordpress webmaster
1. เข้า admin, appearance, editor
2. เปิด header.php แล้ววาง script ก่อนปิด head tag
3. เปิด footer.php แล้ววาง span ก่อนเปิด div tag of footer

วันต่อมาผมก็แก้ไขใหม่
แก้ไข widget ของ twitter ให้เหลือเพียง rpp:3
และย้าย sharethis จาก footer.php ไปท้ายสุดของ comments.php

http://support.sharethis.com/customer/portal/articles/517333-analytics-faqs

การเพิ่ม profile widget ของ twitter

profile widget
profile widget

ข้อมูลมากมายไหลอยู่ในโลกเสมือนจริง กลุ่มคนที่ใช้ twitter ก็จะส่งเสียง tweet กันอยู่ตลอดเวลา เสียงที่ออกมาอยู่ในรูปข้อความ 140 ตัวอักษร ที่แนบลิงค์ได้ และเราสามารถนำเสียงนั้นไปแสดงในเว็บเพจได้ด้วยบริการที่เรียกว่า widget ซึ่งมีตัวเลือก 4 ตัวคือ profile widget, search widget, faves widget หรือ list widget หรือจะใช้ facebook application ก็ทำได้

เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2555 ผมตัดสินใจผูก profile widget เข้ากับ blog  ที่ดูแลอยู่ เพื่อเข้าถึงกลุ่มคนอีกกลุ่มที่ติดอยู่ในโลกของ twitter เท่าที่สังเกต มีผู้คนไม่น้อยอยู่แต่ใน  twitter เพราะเขาไม่ได้ใช้ชีวิตกับการสืบค้นข้อมูล เพียงแค่ tweet ที่พลั่งพลูออกมา ก็หมดเวลาจะเหลียวซ้ายแลขวาแล้ว ถ้าจะพบพวกเขาก็ต้องเข้าไปในโลกของเขา

ดังคำว่า ไม่เข้าถ้ำเสือก็ไม่ได้ลูกเสือ แล้วนี่ก็ไม่ใช่เสือ แต่เป็น twitter

https://twitter.com/about/resources/widgets

โดยเพิ่ม profile widget เข้าไปใน wordpress ผ่าน Menu, Appearance, Widgets, Text ก็จะได้ผลเหมือนกล่อง twitter สีดำที่อยู่ทางขวาล่างของภาพ

<script charset=”utf-8″
src=”http://widgets.twimg.com/j/2/widget.js”></script>
<script>
new TWTR.Widget({
version: 2,
type: ‘profile’,
rpp: 9,
interval: 30000,
width: 200,
height: 300,
theme: {
shell: {
background: ‘#333333’,
color: ‘#ffffff’
},
tweets: {
background: ‘#000000’,
color: ‘#ffffff’,
links: ‘#4aed05’
}
},
features: {
scrollbar: false,
loop: false,
live: false,
behavior: ‘all’
}
}).render().setUser(‘thaiabc’).start();
</script>


Profile Widget
Display your most recent Twitter updates on any webpage.

Search Widget
Displays search results in real time! Ideal for live events, broadcastings, conferences, TV Shows, or even just keeping up with the news.

Faves Widget
Show off your favorite tweets! Also in real time, this widget will pull in the tweets you’ve starred as favorites. It’s great for moderation.

List Widget
Put your favorite tweeps into a list! Then show ’em off in a widget. Also great for moderation.

อบรม social media ศูนย์เนชั่นทาวเวอร์

 

คลิ๊ปที่ 28 จากโครงการอบรมการประยุกต์ใช้
Social Media สำหรับการเรียนการสอน

 
วิทยากร คือ อ.เมธา เกรียงปริญญากิจ  (@mehtaxz) จาก socialmer.com และ facebookgoo.com เมื่อ 26 ธ.ค. 2554 จัดโดย มหาวิทยาลัยเนชั่น ศูนย์เนชั่นทาวเวอร์ อบรมให้กับคุณครูระดับมัธยมศึกษาในประเทศไทย ซึ่งในตอนท้ายของการอบรม คุณสุทธิชัย หยุ่น (idol ของผม) ได้ฝากข้อคิดที่น่าสนใจแก่ผู้เข้ารับการอบรม

พอสรุปได้ว่า วิทยากรบรรยายให้เห็นภาพการแบ่งปันประสบการณ์ แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการใช้ dropbox.com, 4shared.com, scribd.com, slideshare.net, soundcloud.com, twitter.com, youtube.com และ facebook.com  เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนได้อย่างลงตัว

ลองฟัง คุณสุทธิชัย หยุ่น เล่าได้ครับ ว่าการเป็นนักข่าว ต้องทำงานกับนักข่าวหลายร้อยคน มีเนื้อหาต้องแลกเปลี่ยน สื่อสารตลอดเวลานั้น จะใช้งาน social media ได้อย่างไร

คลิ๊ปทั้งหมด ติดตามได้ที่
http://www.youtube.com/user/NationUniversity

social network
social network

ปรากฏการณ์ สื่อ สังคมออนไลน์แห่งการเรียนรู้ใหม่ด้วย Social Network
http://itg.nrct.go.th/itg2010/index.php/training-seminar/training/Social-Network

แบ่งปันเนื้อหาแบบทวีคูณ (238)

แนะนำ facebook

8 เม.ย.53 สังคมแห่งการสื่อสารในยุคโลกไร้พรมแดนมีการพัฒนาอยู่ตลอดเวลา อินเทอร์เน็ตกลายเป็นเครื่องมือสำคัญที่ทำให้การสื่อสารระหว่างบุคคลในต่างดินแดนสามารถสื่อสารกันได้เสมือนอยู่ในห้องเดียวกัน มีการพัฒนาการสื่อสารที่เป็นรูปธรรมทั้งเว็บบอร์ด บล็อก และเครือข่ายสังคม มนุษย์ยุคไอทีสามารถมีเพื่อนใหม่และกลายเป็นเพื่อนกันด้วยสัมผัสเพียงหนึ่งคลิ๊ก หากมีคนกล่าวว่าคลิ๊กเดียวก็เป็นเพื่อนกันได้เมื่อสิบห้าปีก่อน ผู้เขียนก็คงไม่คิดว่าเรื่องแบบนั้นจะเป็นจริง แต่ปัจจุบันมีบริการเครือข่ายสังคมที่เริ่มมีแนวโน้มผูกขาดการเป็นศูนย์บริการที่ได้รับความนิยม เช่น Facebook.com และ Twitter.com
     ปัจจัยหนึ่งที่ทำให้เครือข่ายสังคมอย่าง facebook.com เป็นที่นิยมคือ ยอมรับการแบ่งปันหัวข้อหรือบันทึก (Share Title) ซึ่งบันทึกนั้นอาจมาจากเว็บไซต์ใดใด เช่น cnn.com หรือ sanook.com หรือ thaiall.com ซึ่งเจ้าของบัญชีเครือข่ายสังคมสามารถดำเนินการด้วยเครื่องมือของ Toolbar ที่ติดตั้งเพิ่มเติมเพื่อส่งข้อมูลจากทุกเว็บไซต์ได้ไปยังเว็บไซต์เครือข่ายสังคมได้ หรือคลิ๊กผ่านไอคอนในเว็บไซต์ข่าว ซึ่งผู้เป็นเจ้าของเว็บไซต์ข่าวสามารถสร้างไอคอนให้ผู้ชมสามารถคลิ๊กเพื่อส่งบันทึกหรือข่าวไปเผยแพร่ในเว็บไซต์เครือข่ายสังคมเป็นการเปิดช่องทางให้เพื่อนของผู้ชมได้อ่านหัวข้อที่แนะนำ หากสนใจในรายละเอียดก็จะคลิ๊กเพื่อเปิดอ่านเนื้อหาต้นฉบับเต็มในเว็บไซต์ข่าวได้ ดังนั้นการเขียนข่าวเพียงหนึ่งครั้งแต่ส่งไปเผยแพร่ใน 3 เว็บไซต์เครือข่ายสังคม อาจมีผู้ชมเพิ่มจากเดิมถึง 3 เท่า และอาจเพิ่มขึ้นอีกหากมีผู้ชมที่สนใจแล้วเผยแพร่หัวข้อเพิ่มขึ้น
     เว็บไซต์ addthis.com ให้บริการส่งหัวข้อไปยังเว็บไซต์เครือข่ายสังคมที่เปิดรับการแชร์เนื้อหาหรือหัวข้อ เช่น facebook.com myspace.com twitter.com blogger.com ถ้าจะใช้บริการก็เพียงแต่นำรหัสที่ได้จาก addthis.com ไปวางไว้ในเว็บไซต์ของตน เมื่อเพื่อนหรือผู้ชมเข้ามาอ่านบันทึกหรือข่าวแล้วสนใจก็จะคลิ๊กเพื่อส่งหัวข้อไปเผยแพร่ยังเว็บไซต์เครือข่ายของผู้ชม เมื่อเพื่อนของผู้ชมเข้าไปที่เว็บไซต์เครือข่ายสังคมก็จะได้พบกับหัวข้อข่าว หากสนใจก็จะคลิ๊กกลับมาอ่านรายละเอียด ซึ่งวิธีนี้เริ่มได้รับความนิยม เนื่องจากมีประสิทธิภาพในการแบ่งปันเนื้อหา ดำเนินการง่าย และมีประสิทธิภาพในการให้สารสนเทศแก่กลุ่มเป้าหมายที่ชัดเจน ในภาคธุรกิจเริ่มใช้เทคนิคนี้เข้ามาเป็นกลยุทธ์ในการทำตลาดเพื่อสร้างภาพลักษณ์ หรือขยายช่องทางในการสื่อสารกับกลุ่มลูกค้าเพิ่มขึ้น