เสนอร่างระบบการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา

หลังไปคุยกับเพื่อนเรื่องระบบและกลไก พบว่าในคู่มือมีเกณฑ์คล้ายกัน 7 ตัวบ่งชี้ คือ
3.1 การรับนักศึกษา
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5.3 การประเมินผู้เรียน
6.1 สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้

พบว่า ปกติจะมีการประชุมและทำงานตามระบบและกลไก .. ต่อเนื่องทุกปี
เมื่อถึงสิ้นปีแล้ว เห็นว่าขั้นตอนหรือกระบวนการใดในระบบ
ควรยุบ ปรับปรุง พัฒนา หรือขยายก็เปลี่ยนได้
จึงเสนอตุ๊กตา ตามตัวบ่งชี้ 3.1 ระบบและกลไกการรับนักศึกษา
ในคู่มือการประกันคุณภาพภายใน ระดับอุดมศึกษา ฉบับปีการศึกษา 2557
ของสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

กำหนดการของ ม.สวนดุสิต มีความละเอียดดี จึงนำมาเป็นภาพประกอบ
กำหนดการของ ม.สวนดุสิต มีความละเอียดดี จึงนำมาเป็นภาพประกอบ

เป็นตัวอย่าง “ระบบการรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
1. แต่งตั้ง/ทบทวน คณะกรรมการรับนักศึกษา ประจำหลักสูตร
2. ประชุมวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
3. ประชุมทบทวน/จัดทำแผนกลยุทธ์การรับนักศึกษา และการรณรงค์รับนักศึกษา
4. เสนอขออนุมัติแผนกลยุทธ์จากคณะกรรมการบริหารคณะฯ
5. เผยแพร่แผนกลยุทธ์การรับนักศึกษา
6. ประชุมจัดทำแผนปฏิบัติการ  เป้าหมาย เกณฑ์ และตัวบ่งชี้ความสำเร็จ
7. เสนอขออนุมัติแผนปฏิบัติการ และงบประมาณ
8. เผยแพร่แผนปฏิบัติการให้กับทีมงานได้เข้าใจ เข้าถึง
9. เตรียมข้อมูลของหลักสูตร เพื่อการประชาสัมพันธ์รับนักศึกษา
10. ประชุมทบทวนเงื่อนไขการรับนักศึกษาในโครงการต่าง ๆ
11. ประกาศรับสมัครนักศึกษาตามเกณฑ์หลักสูตร
12. แต่งตั้งคณะกรรมการออกข้อสอบ คุมสอบ ตรวจข้อสอบ ประกาศผลสอบ
13. ประชุมออกข้อสอบ รูปแบบการรับสมัคร หรือเครื่องมือคัดเลือกนักศึกษา
14. จัดพิมพ์ข้อสอบ
15. จัดสอบข้อเขียน
16. จัดสอบสัมภาษณ์
17. ประกาศผลสอบ
18. ปฐมนิเทศนักศึกษา
19. จัดกิจกรรมเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
20. ดำเนินการตามแผนปฏิบัติการของคณะ
21. ดำเนินการสนับสนุนแผนปฏิบัติการของมหาวิทยาลัย
22. ประชุมติดตามตัวบ่งชี้ของแผนปฏิบัติการระหว่างปีการศึกษา
23. ประเมินความพึงพอใจการดำเนินงานตามแผนกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการรับนักศึกษา
24. ประชุมเปรียบเทียบกับหลักสูตรใกล้เคียง และทำการรวบรวมข้อเสนอแนะ
25. ประชุมประเมินผลแผนงาน/โครงการ และประเมินกระบวนการรับนักศึกษา
26. ประชุมถอดบทเรียน ปรับปรุงแผน พัฒนาการบูรณาการกระบวนการ ระบบ และกลไก
27. ประชุมสรุปผลตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการการรับนักศึกษาประจำปี

* มีอีกหลายขั้นตอนที่ยังไม่ได้ระบุลงไป เช่น ประชุมผู้ปกครอง ประกาศรายชื่อผู้มีสิทธิ์สอบ วันมอบตัว เป็นต้น
http://www.thaiall.com/iqa

ปลาก็อยาก ช้างก็อยาก แมวน้ำก็อยาก .. แต่ครูต้องเลือก

education
education

เคยค้นดู .. มีผู้กล่าวว่าไม่มีหลักฐานว่า albert einstein เขียนประโยคที่ quite นี้จริง

ชวนคิดว่าในอีกมุมมองหนึ่งว่า
ผู้เข้ามาในเวที่นี้โปรดฟัง เป้าหมายของการสอบครั้งนี้
คือ เลือกสิ่งมีชีวิตที่จะไปทำงานเก็บแอปเปิ้ลในสวนอีเดน


ระบบการศึกษาของเรา
ไม่มีใครเป็นอัจฉริยะไปทุกเรื่อง
แต่ถ้าตัดสินว่าช้างจะดำน้ำ ทำงานเหมือนปลา
ช้างก็คงคิดว่าตนเองบกพร่องไปทั้งชีวิต
แต่ถ้าตัดสินว่าลิงลากซุง ทำงานในป่า
ลิงก็คงคิดว่ตนเองไม่มีเรื่ยวแรงทั้งชีวิต

สรุปว่า
หลังจากทุกชีวิตเรียนรู้ที่จะหายใจบนโลกแล้ว
ก็จะแยกย้ายกันไปอยู่ในเวทีที่เหมาะสมสำหรับตน

SLiMS/Senayan 5 (Meranti)

install senayan
install senayan

12 ต.ค.55 ได้ทดสอบติดตั้งระบบจัดการห้องสมุดบนเว็บไซต์ โปรแกรมนี้ชื่อ SLiMS/Senayan 5 (Meranti) update 6 มีแหล่งเผยแพร่ที่ http://slims.web.id/web/ เป็น open source ที่พัฒนาโดยคนอินโดนีเซีย และมีคนไทยได้พัฒนาส่วนภาษาไทยให้กับเขา เราจึงมี option ภาษาไทย สำหรับการใช้งานระบบนี้

สรุปเฉพาะประเด็นที่สำคัญ เพราะการติดตั้งไม่ยาก
1. มี web server ตัวใดก็ได้
ที่ผมใช้คือโปรแกรมของ http://www.thaiabc.com
2. มี mysql server ที่มี phpmyadmin
ผมก็ใช้ของ thaiabc.com ซึ่งที่มี user:admin password:p
3. ใช้ phpmyadmin ไปสร้าง database ชื่อ senayandb
4. เข้าไปแก้ไขแฟ้ม sysconfig.inc.php
กำหนด user และ password ให้ตรงกับ mysql
5. หากติดตั้งเสร็จแล้ว ระบบเตรียมรหัส admin มาให้แล้ว
user: admin password: admin
6. ถ้าติดตั้งแล้วเขาเตือนว่า ให้ลบห้อง /install เพื่อความปลอดภัย
7. download script ของโปรแกรมแล้วคลาย zip ลงห้อง root
http://slims.web.id/download/slims5-meranti-update6.tar.gz
8. ภาพประกอบ 31 ภาพ
http://www.facebook.com/media/set/?set=a.532269490120520.133480.506818005999002&type=1

บันทึกเดิมเรื่องนี้ เมื่อ 25 ก.พ.2555
http://www.thaiall.com/blog/burin/3955/

LiMS (Senayan Library Management System) is a free and open source Library Management System. It is build on free and open source technology like PHP and MySQL. SLiMS provides many features such as bibliography database, circulation, membership management and many more that will help “automating”  library tasks. This project was sponsored by Pusat Informasi dan Humas Kemdikbud and licensed under GPL v3.

เสนายัน (SENAYAN) คือ โปรแกรมห้องสมุดอัตโนมัติโอเพนซอร์ส  สัญชาติอินโดนีเซีย ได้รับรางวัล ICT Award  ของอินโดนีเซียเป็นเครื่องหมายรับประกันว่าถึงแม้จะเป็นของฟรี แต่ก็มีความสามารถสูง เขียนด้วยภาษา  PHP และใช้ฐานข้อมูล MySql  เช่นเดียวกับ OpenBiblio แต่โดยภาพรวมอาจจะมีความสามารถไม่ด้อยกว่า OpenBiblio และถูกพัฒนาให้ใช้ภาษาไทย โดย คุณประสิทธิ์ชัย  เลิศรัตนเคหกาล ซึ่งผู้พัฒนาภาษาไทยให้กับ OpenBiblio ต่อยอดจากต้นฉบับประเทศอินโดนีเซีย ให้ใช้งานภาษาไทย

ภาพประกอบในหนังสือ Operating System Concepts 62 ภาพ

ภาพประกอบในหนังสือ Operating System Concepts, Sixth editon เขียนโดย
Abraham Silberschatz, Bell Laboratories
Peter Baer Galvin, Corproate Technologies, Inc.
Greg Gagne, Westminster College

เลือกนำเสนอเพียง 62 ภาพ

1 figure 1.1 Abstract view of the components of a computer system
2 figure 1.2 Memory layout for a simple batch system
3 figure 1.3 Memory layout for a multiprogramming system
4 figure 1.4 symmetric multiprocessing architecture
5 figure 1.5 General structure of a client-server system
6 figure 2.1 A modern computer system
7 figure 2.3 Two I/O methods: (a) synchronous, and (b) asynchronous
8 figure 2.6 Storage-device hierachy
9 figure 2.7 migration of integer A from disk to register
10 figure 2.9 A base and a limit register define a logical address space
11 figure 2.10 Hardware address protection with base and limit registers
12 figure 3.3 MS-DOS execution. (a) At system startup. (b) Running a program
13 figure 3.4 UNIX running multiple programs
14 figure 3.5 Communications models. (a) Msg passing. (b) Shared memory.
15 figure 3.6 MS-DOS layer structure
16 figure 3.7 UNIX system structure
17 figure 3.11 System models. (a) Nonvirtual machine. (b) Virtual machine.
18 figure 3.12 The Java virtual machine
19 figure 4.1 Diagram of process state
20 figure 4.2 Process control block (PCB)
21 figure 4.5 Queueing-diagram representation of process scheduling
22 figure 4.12 Execution of a remote procedure call (RPC)
23 figure 5.1 Single and multithreaded processes
24 figure 5.2 Many-to-one model
25 p 157 First-Come, First-Served Scheduling
26 p 158 Shortest-Job-First Scheduling
27 p 162 Priority Scheduling
28 p 164 Round-Robin Scheduling
29 p 166 Multilevel Queue Scheduling
30 p 168 Multilevel Feedback Queue Scheduling
31 figure 7.16 The situation of the dining philosophers
32 figure 7.25 Schedule 2: A concurent Serializable schedule
33 figure 8.8 Traffic deadlock for Exercise 8.4
34 figure 9.1 Multistep processing of a user program
35 figure 9.4 Swapping of two processes using a disk as a backing store
36 figure 9.7 Paging model of logical and physical memory
37 figure 9.19 Example of segmentation
38 figure 10.1 Diagram showing virtual memory that is larger than physical memory
39 figure 10.9 FIFO page-replacement algorithm
40 figure 10.11 Optimal page-replacement algorithm
41 figure 10.12 LRU page-replacement algorithm
42 figure 10.14 Second-change (clock) page-replacement algorithm
43 figure 11.4 Example of index and relative files
44 figure 11.5 A typical file-system organization
45 figure 12.1 Layered file system
46 figure 12.5 Contiguous allocation of disk space
47 figure 12.6 Linked allocation of disk space
48 figure 13.1 A typical PC bus structure
49 figure 14.1 FCFS disk scheduling
50 figure 14.2 SSTF disk scheduling
51 figure 14.3 SCAN disk scheduling
52 figure 14.4 C-SCAN disk scheduling
53 figure 14.5 C-LOOK disk scheduling
54 figure 14.9 RAID levels
55 figure 15.1 A distributed system
56 figure 15.2 Network topology
57 figure 15.5 Two computers communicating via the ISO network model
58 figure 15.8 The TCP/IP protocol layers
59 figure 18.1 System with three protection domains
60 figure 18.4 Access matrix of figure 18.3 with domains as objects
61 figure 19.1 The Morris Internet worm
62 figure 21.1 Windows 2000 block diagram

โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์

logitech h530 usb headset
logitech h530 usb headset

คลิ๊ปนี้ใช้ microphone ของ logitech รุ่น h530 usb headset
แล้วใช้โปรแกรม camtasia 7.1 บันทึกภาพจาก powerpoint แล้วจัดเก็บแบบ mp4 สำหรับ web ขนาด  1024 * 768 px มี frame rate อยู่ที่ 15 frame/sec ระยะเวลา 18 นาที ใช้พื้นที่ประมาณ 18 MB ที่ได้แฟ้มขนาดไม่ใหญ่เกิดจากมี slide เพียง 3 slides มีเนื้อหาเกี่ยวกับ โครงสร้างระบบคอมพิวเตอร์ และส่วนประกอบของคอมพิวเตอร์
แต่ถ้าใช้ slide เพิ่มขึ้น แล้วเปลี่ยนบ่อยขนาดของแฟ้มก็จะเพิ่มขึ้น