คอมพิวเตอร์เบื้องต้น
เฟซบุ๊ก | Github | งานมอบหมาย | VdoTeach | Breaking News | เช็คชื่อ | wordwall | genially |
เนื้อหา 15 บทสำหรับ 15 สัปดาห์
บทที่ 1 เทคโนโลยีสารสนเทศ
- ความหมาย และความสำคัญ
- บุคคลที่เกี่ยวกับเทคโนโลยีสารสนเทศ
- การใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ฝึกใช้สื่อสังคม
บทที่ 2 ระบบคอมพิวเตอร์
- ระบบคอมพิวเตอร์
- ประเภทของระบบ
- ฝึกใช้ระบบปฏิบัติการวินโดว์
บทที่ 3 องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
- องค์ประกอบของคอมพิวเตอร์
- อุปกรณ์ต่อพ่วง
- ฝึกสร้างอินโฟกราฟิก
บทที่ 4 เทคโนโลยีการสื่อสาร
- ความหมายของเทคโนโลยีการสื่อสาร
- พัฒนาการด้านการสื่อสาร
- ฝึกใช้โปรแกรมเพื่อการสื่อสาร
บทที่ 5 ระบบเครือข่าย
- ความหมายของระบบเครือข่าย
- การใช้งานระบบเครือข่าย
- ฝึกใช้สื่อจัดเก็บข้อมูล
บทที่ 6 ระบบสารสนเทศ
- ความหมายของระบบสารสนเทศ
- การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศ
- เทคโนโลยีกับระบบสารสนเทศ
- ฝึกเขียน Blog
บทที่ 7 อินเทอร์เน็ต
- ความหมายของอินเทอร์เน็ต
- ประวัติของอินเทอร์เน็ต
- ประโยชน์ของอินเทอร์เน็ต
- ฝึกเขียน Webpage
บทที่ 8 การสืบค้นข้อมูล
- ความหมายของระบบฐานข้อมูล
- แหล่งสืบค้นข้อมูล
- ฝึกสืบค้นข้อมูล
บทที่ 9 โปรแกรมสำเร็จรูปทางคอมพิวเตอร์
- การใช้งานโปรกรมสำเร็จรูป
- การใช้งานแอปพลิเคชันบนอุปกรณ์เคลื่อนที่
- ฝึกใช้โปรแกรมบราวเซอร์
บทที่ 10 โปรแกรมประมวลผลคำ
- การใช้งานโปรแกรมประมวลผลคำ
- การประยุกต์ใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่น
- ฝึกใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
บทที่ 11 โปรแกรมนำเสนอ
- การใช้งานโปรแกรมนำเสนอ
- การประยุกต์ใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่น
- ฝึกใช้โปรแกรมนำเสนอ
บทที่ 12 โปรแกรมคำนวณ
- การใช้งานโปรแกรมคำนวณ
- การประยุกต์ใช้ร่วมกับโปรแกรมอื่น
- ฝึกใช้โปรแกรมคำนวณ
บทที่ 13 การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
- การวิเคราะห์ระบบ
- การออกแบบระบบ
- เครื่องมือแสดงแบบซอฟต์แวร์
- ฝึกเขียนแผนที่ความคิด
บทที่ 14 การเขียนผังงาน
- ความหมายของผังงาน
- การเขียนผังงาน
- ฝึกเขียนผังงาน
บทที่ 15 การออกแบบ Gantt chart
- ความหมายของ Gantt chart
- การเขียน Gantt chart
- ฝึกเขียน Gantt chart

Handbook Comp. 2020
Ctrl+Shift+E = Revision Mark Toggle
Ctrl+F = Find / Navigation pane
Handbook Tech. 2020
NTU Studi
คู่มือนิสิต 2563
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
ปฏิทินการศึกษา
ตารางเรียน 2/63
ตารางช่วยคำนวณ CGPA
ภาพที่น่าสนใจ
ข่าวภาษาอังกฤษ
สไลด์ pps จากหนังสือ

วิโรจน์ ชัยมูล, และสุพรรษา ยวงทอง. (2557).
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น. [13]


01 ความรู้เบื้องต้น

02 องค์ประกอบ

03 ซอฟต์แวร์

04 ฮาร์ดแวร์

05 ระบบปฏิบัติการ

06 การจัดการข้อมูล

07 วิเคราะห์

08 การเขียนผังงาน

09 ระบบเครือข่าย

10 อินเทอร์เน็ต

11 สารสนเทศ

12 พาณิชย์อิเล็กฯ

13 จริยธรรม
บทที่ 1 ฝึกใช้สื่อสังคม
สื่อสังคมออนไลน์ (Social Media) หมายถึง สังคมออนไลน์ที่มีผู้ใช้เป็นผู้สื่อสาร หรือเขียนเล่าเรื่องราว เนื้อหา ประสบการณ์ บทความ รูปภาพ และวีดิโอ ที่ผู้ใช้เขียนขึ้นเอง ทำขึ้นเอง หรือพบเจอจากสื่ออื่น ๆ แล้วนำมาแบ่งปันให้กับผู้อื่นที่อยู่ในเครือข่ยของตนผ่านทางเครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social Network) ที่ให้บริการบนโลกออนไลน์ ปัจจุบันการสื่อสารแบบนี้จะทำผ่านทาง Internet และโทรศัพท์เคลื่อนที่เท่านั้น
ครือข่ายสังคมออนไลน์ (Social network) หมายถึง เครือข่ายสังคมออนไลน์ หรือเป็นการบริการที่เชื่อมโยงคนหลายคนเข้าด้วยกัน โดยผ่านทางเครือข่ายอินเทอร์เน็ต ทุกคนสามารถติดต่อสื่อสารและรับทราบข้อมูลข่าวสารได้อย่างสะดวก รวดเร็ว
พบเอกสารเผยแพร่ การใช้บริการสื่อสังคมออนไลน์ของภาครัฐ
ชื่อ กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) โดย สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ตามแนวทางการจัดการความรู้ของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา ประจำปีงบประมาณ 2561 จำนวน 64 หน้า #senate.go.th
ฝึกใช้ Facebook
PPTX : รวมเทคนิคการใช้เฟสบุ๊ค
PPTX : การใช้เฟสบุ๊คเพื่อการขายสินค้า
PPTX : Official Line Account
PPTX : คิดก่อนโพสต์

ถ่ายภาพรายงานตัว
การอยู่ในสื่อสังคม สังคมห้องเรียน สังคมที่ทำงาน มักพบเห็นการถ่ายภาพใบหน้า ท่าทาง ร่วมกับองค์ประกอบอื่นตามวัตถุประสงค์ เช่น สถานที่ วัตถุ สิ่งของ ผู้คน ด้วยมีเป้าหมายที่สอดคล้องกับสังคมนั้น
- สังคมห้องเรียน ก็ถ่ายเช็คชื่อกับคุณครู
- สังคมที่ทำงาน ก็ลงเวลาเข้าออกงาน
- สื่อสังคม ก็บอกเล่าให้เพื่อนได้รู้ได้ทราบ
- สื่อเว็บไซต์ ก็เล่าออกไปให้คนทั้งโลกได้รู้
สรุปว่า
ทุกโพสต์ ทุกภาพ ทุกข้อความ ล้วนมีวัตถุประสงค์ และกลุ่มเป้าหมาย ที่มาพร้อมผลผลิต และผลลัพธ์เสมอ
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Social media
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำเวทีใน Social media ของตนได้
+ นำเสนอ Story Telling เป็น
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้สื่อสังคม
+ แฟนเพจ กลุ่ม และโปรไฟร์
+ QR code monkey
+ มีเพลง และเรื่องราวของตนเอง
บทที่ 2 ฝึกใช้ระบบปฏิบัติการวินโดว์
วินโดวส์ (Windows) คือ ระบบปฏิบัติการ ที่ถูกพัฒนาโดยไมโครซอฟต์ ในรุ่นแรก ๆ จะใช้กับเครื่องไอบีเอ็ม และไอบีเอ็มคอมแพททิเบิล ที่มีซีพียูเบอร์ 80286 80386 และ 80486 และในปี 1990 ไมโครซอฟต์ได้ออกวินโดวส์เวอร์ชัน 3.0 ออกมา เพื่อทำการโปรโมทผู้ใช้ไม่ให้หันไปนิยมใช้แมคอินทอชโอเอสแทนดอส อย่างไรก็ตามถึงแม้ว่าวินโดวส์จะง่ายต่อการใช้งานมากกว่าดอส แต่ในเวอร์ชันแรก ๆ การใช้งานก็ยังไม่ง่ายเท่าของแมคโอเอส และนอกจากนี้การติดตั้งอุปกรณ์รอบข้างอื่น ๆ ก็ยังทำได้ยาก
ฝึกใช้ Windows
OS : windows
ส่วนต่าง ๆ ของ Windows
การใช้คำสั่งภายใน คำสั่งภายนอก
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก MS Windows
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ ร้อยเรียงเรื่องราวที่ใช้งานใน Windows ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้ระบบปฏิบัติการวินโดว์
+ การใช้งาน Start menu
+ การใช้ DOS บน Windows + WD case
บทที่ 3 ฝึกสร้างอินโฟกราฟิก
อินโฟกราฟิก (Infographic) คือ การนำเสนอสารสนเทศ ข้อมูล ความรู้ ด้วยภาพกราฟิกเสมือนจริง ที่มุ่งนำเสนอข้อมูลที่ซับซ้อนให้เข้าใจได้อย่างชัดเจนรวดเร็ว ปรับใช้ประโยชน์ภาพกราฟิกแสดงรูปแบบข้อมูล หรือแนวโน้ม กระบวนการจัดทำเกี่ยวข้องกับภาพเสมือนจริง การออกแบบสารสนเทศ และสถาปัตยกรรมสารสนเทศ
ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร (9 แบบ)
PPTX : infographic
draw.io
infogram.com (FB Account)
infogram.com (Pie chart) Canva.com
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Infographic
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Infographic ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกสร้างอินโฟกราฟิก
+ infographic / curve shape
บทที่ 4 ฝึกใช้โปรแกรมเพื่อการสื่อสาร
ารสื่อสาร (Communication) มาจากภาษาละตินว่า communicare หมายถึง to share คือ กิจกรรมที่สื่อสารสนเทศบางอย่าง ผ่านการแลกเปลี่ยนความคิด ความรู้สึก การเอาใจใส่ ทัศนคติ ความคาดหวัง การรับรู้ หรือคำสั่ง อาจเป็นการพูดคุย การแสดงออก การเขียน พฤติกรรม หรือผ่านอุปกรณ์อื่นใด ที่เป็นการแลกเปลี่ยนระหว่าง 2 คนหรือมากกว่า
การสื่อสาร (Communication)
e-mail / Facebook group / Line group
Chat (5W1H: WHAT WHO WHEN WHERE WHY HOW)
อ่านข่าว แล้วสรุปประเด็นข่าวที่น่าสนใจ
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Communication ตามกลุ่มเฉพาะ
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้การสื่อสารได้
+ สามารถสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้โปรแกรมเพื่อการสื่อสาร
+ ค้นข่าว และเล่าข่าวมา 3 ข่าว
+ สื่อสารผ่าน Drawing / Story board
บทที่ 5 ฝึกใช้สื่อจัดเก็บข้อมูล
ลาวด์สตอเรจ (Cloud storage) คือ การจัดเก็บข้อมูลบนคลาวด์ ที่แหล่งจัดเก็บเป็นแบบโลจิคัล (Logical pool) ที่เก็บข้อมูลกระจายในเซิร์ฟเวอร์หลายแห่ง รับผิดชอบเก็บรักษาข้อมูลโดยผู้ให้บริการโฮสต์ (Host Provider) มีบริการเสริมที่หลากหลาย นอกจากการอัพโหลด (Upload) และดาวน์โหลด (Download) เช่น การมีแอปพลิเคชันสนับสนุน ระบบความปลอดภัย การควบคุมการเข้าถึงจากผู้ใช้หลายคน และการแบ่งปันในสื่อสังคม มีผู้ให้บริการฟรีหลายราย เช่น Google drive, Onedrive, 4shared.com, Dropbox.com, Box.com, iCloud, Samsung cloud
thaiall.com/google/
Dropbox - provision book
Onedrive - Royal files
4shared - Royal files
Box.com - Royal files
Google Drive - 9 นิทาน
Facebook - KM+ebook
Compare File Hosting
Kingsong.htm
Royal_files.htm
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Cloud Storage
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ ใช้งาน Cloud Storage
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้สื่อจัดเก็บข้อมูล
+ รวบรวมผลงาน และแบ่งปัน ตามรายวิชา
+ Cloud storage / Share / Collaborator
บทที่ 6 ฝึกเขียน Blog
ล็อก (Blog) คือ เว็บไซต์ประเภทหนึ่งที่ใช้สำหรับบันทึกบทความ คล้ายกับไดอารีของตนเองลงบนเว็บไซต์ ศัพท์เดิมคือ Web Log บางคนอ่านว่า We-Blog หรือ Web Log จนรวมคำเป็น บล็อก หรือ เว็บบล็อก ซึ่งเว็บบล็อกมีเนื้อหาหลายหลายไม่ว่าจะเป็นเรื่อราวทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม กีฬา ภาพยนตร์ ดนตรี ธุรกิจ การศึกษา หรือเรื่องส่วนตัวที่ต้องการเปิดเผยแก่คนทั่วไปได้รับรู้ การสร้างเว็บบล็อกมีซอฟท์แวร์ช่วยในการบริหารจัดการ และมีเท็มเพลตให้เลือกหลากหลาย แล้วมีแนวโน้มจะเติมโตตลอดเวลาตามจำนวนผู้ใช้อินเทอร์เน็ตที่เพิ่มขึ้น
thaiall.com/wordpress
แต่งภาพใช้ CS CAM Scanner / MS Office Lens
scribd.com/doc/153813103/Blog-Composing
scribd.com/doc/153813095/Blogger-with-gmail
ตัวอย่าง blog ใน wordpress.com ของผมและนิสิต

หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Blog
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Blog ตามประเด็นที่สนใจ
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกเขียน Blog
บทที่ 7 ฝึกเขียน Webpage
อินเตอร์เน็ต (Internet) นั้นย่อมาจากคำว่า “International network” หรือ “Inter Connection network” ซึ่งหมายถึง เครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เชื่อมโยงเครือข่ายคอมพิวเตอร์ทั่วโลกเข้าไว้ด้วยกัน เพื่อให้เกิดการสื่อสาร และการแลกเปลี่ยนข้อมูลร่วมกัน โดยอาศัยตัวเชื่อมเครือข่ายภายใต้มาตรฐานการเชื่อมโยงเดียวกัน นั่นก็คือ TCP/IP Protocol ซึ่งเป็นข้อกำหนดวิธีการติดต่อสื่อสารระหว่างคอมพิวเตอร์ในระบบเครือข่าย ซึ่งโปรโตคอลนี้จะช่วยให้คอมพิวเตอร์ที่มีฮาร์ดแวร์ที่แตกต่างกันสามารถติดต่อถึงกันได้
ภาษาเฮชทีเอ็มแอล (HTML = HyperText Markup Language) คือ ภาษาคอมพิวเตอร์ที่ออกแบบมาเพื่อใช้ในการสร้างเว็บเพจ(Webpage) ที่เรียกดูผ่านทางเว็บเบราว์เซอร์ (Web Browser) เริ่มพัฒนาโดย ทิม เบอร์เนอรส์ ลี (Tim Berners Lee) ในปัจจุบัน HTML ล่าสุดคือ รุ่น 5 เป็นมาตรฐานหนึ่งของ ISO ซึ่งจัดการโดย World Wide Web Consortium (W3C) ในปัจจุบัน ทาง W3C ผลักดัน รูปแบบของ HTML แบบใหม่ ที่เรียกว่า XHTML รุ่นแรกคือ 1.0 (ม.ค.2543) ซึ่งมีโครงสร้างเป็นแบบ XML (eXtensible Markup Language)
HTML 7 บทเรียน
Website 2549
HTML (br, hr, div, body, table, tr, td)
thaiall.com/html/html.htm

หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Webpage
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Webpage ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกเขียน Webpage
+ ใช้บริการ github.com / github.io
+ ผลงาน คือ index.html , work.htm และ social.htm
บทที่ 8 ฝึกสืบค้นข้อมูล
ารสืบค้นข้อมูล คือ การสืบค้นหาข้อมูลเกี่ยวกับเรื่องที่สนใจ ซึ่งค้นได้ทั้งแบบใช้ดัชนี (Index Directory) และแบบใช้เครื่องมือสืบค้น (Search Engine) sites.google.com : การสืบค้นข้อมูล
thaiall.com/pptx/research_searching.pptx
Facebook
Twitter
images.google.com
ThaiJO
ThaiLIS
Wikipedia
Data.go.th
Archive.org
ThaiJO
conferenceinthai.com
สืบค้นงานวิจัย Fullpaper ฟรี สำหรับคนไทย
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Searching
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ วิเคราะห์ และสังเคราะห์ผลการสืบค้นได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกสืบค้นข้อมูล "ผลงานวิจัย"
+ เลือกประเด็น ตาม keyword ที่สนใจ
+ สรุปบทความ แล้วนำไปสร้าง webpage
+ ค้นบทความวิจัย 5 บทจาก thaijo
1 บทนำ
2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
3 วิธีดำเนินการวิจัย
4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล
5 สรุป อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
บทที่ 9 ฝึกใช้โปรแกรมบราวเซอร์
ว็บเบราว์เซอร์ หรือ เบราว์เซอร์ หรือ โปรแกรมค้นดูเว็บ คือ โปรแกรมคอมพิวเตอร์ ที่ผู้ใช้สามารถดูข้อมูลและโต้ตอบกับข้อมูลสารสนเทศที่จัดเก็บในหน้าเว็บที่สร้างด้วยภาษาเฉพาะ เช่น ภาษาเอชทีเอ็มแอล ที่จัดเก็บไว้ที่เว็บเซอร์วิซหรือเว็บเซิร์ฟเวอร์หรือระบบคลังข้อมูลอื่น ๆ โดยโปรแกรมค้นดูเว็บเปรียบเสมือนเครื่องมือในการติดต่อกับเครือข่ายคอมพิวเตอร์ขนาดใหญ่ที่เรียกว่าเวิลด์ไวด์เว็บ
เว็บเบราว์เซอร์
ตรวจ cache ของ browser
chrome browser

User : โยนก
ntu_63_busi.pdf
ntu_63_busi_acct.pdf
ntu_63_busi_avia.pdf
ntu_63_busi_business.pdf
ntu_63_busi_cpsc.pdf
ntu_63_busi_mba.pdf
ntu_63_busi_puba.pdf
ntu_63_comm.pdf
ntu_63_dent.pdf
ntu_63_med.pdf
ntu_63_nurse.pdf
ntu_63_pubh.pdf
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Browser
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ ใช้ Browser ช่วยแก้ไข Webpage ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้โปรแกรมบราวเซอร์
+ การใช้ developer tool
+ การใช้ console.log
บทที่ 10 ฝึกใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
ปรแกรมประมวลผลคำ หรือที่นิยมเรียกกันว่า โปรแกรมเวิร์ดโพรเซสเซอร์ (Word Processor Program) คือ โปรแกรมที่ช่วยสร้างเอกสารประเภทต่างๆ ได้อย่างสะดวก และรวดเร็ว อาทิเช่น จดหมาย บันทึกข้อความ ใบปะหน้า โทรสาร แบบฟอร์มต่างๆ เป็นต้น โดยเก็บในสื่อ อิเล็กทรอนิกส์แทนกระดาษ ผู้ใช้สามารถเพิ่มเติม หรือแก้ไขข้อมูลที่จัดเก็บได้ โดยที่ไม่ต้องพิมพ์ ใหม่ทั้งหมด
wiki : ไมโครซอฟต์ เวิร์ด
Slide : Word Page
PPTX : Microsoft office 2010
Clip : IT Exam 150
/office/poster07.docx (resume)


หัวข้อ (Topics)
รู้จัก MS Word
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำเอกสาร บันทึก ตำราได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้โปรแกรมประมวลผลคำ
+ การจัดทำ Brochure / Poster / Journal
บทที่ 11 ฝึกใช้โปรแกรมนำเสนอ
ปรแกรมการนำเสนอข้อมูล คือ โปรแกรมสำหรับจัดเตรียมเอกสารต่างๆ ที่จำเป็นต้องใช้ในการนำเสนอข้อมูล เช่น แผ่นใส สไลด์ โปสเตอร์ เอกสารสำหรับผู้ฟัง หรือเอกสารสรุปสำหรับผู้พูด หากจะต้องเตรียมเอกสารเหล่านี้ด้วยมือทั้งหมด ก็จะต้องเตรียมงานในปริมาณที่ค่อนข้างมาก และต้องทำงานซ้ำแล้วซ้ำอีก ซึ่งเป็นการสิ้นเปลืองเวลา ดังนั้น การนำเสนอข้อมูลในปัจจุบันจึงนิยมใช้โปรแกรมการนำเสนอข้อมูลแทน ซึ่งโปรแกรมการนำเสนอข้อมูลไม่ค่อยมีการปรับเปลี่ยนมากนัก มีเพียงการเพิ่มเติมส่วนการช่วยเหลือแนะนำ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถใช้งานได้สะดวกรวดเร็วขึ้น เพิ่มความสามารถในการนำเสนอข้อมูลแบบสื่อประสม ที่มีทั้งข้อความ (Text) กราฟิก (Graphic) เสียง (Sound) วีดิทัศน์ (Video) เพิ่มความสามารถในการสร้างแฟ้มข้อมูลที่เป็นเอกสารเว็บ เพื่อให้ทันสมัยในยุคอินเทอร์เน็ตอีกด้วย นอกจากนี้ ยังสามารถทำงานร่วมกับโปรแกรมต่างๆ ได้ เช่น ความสามารถในการดึงข้อมูลจากโปรแกรมแผ่นตารางทำการ และโปรแกรมประมวลผลคำ เข้ามาใช้งานร่วมกัน เป็นต้น
wiki : ไมโครซอฟต์ พาวเวอร์พอยต์
PPTX : Powerpoint Layout
thaiall.com/office/
วาดภาพเวคเตอร์ : โดราเอมอน

หัวข้อ (Topics)
รู้จัก MS Powerpoint
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Powerpoint แบบต่าง ๆ ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้โปรแกรมนำเสนอ
+ บันทึกผลงานเป็น wmv/mp4 ไม่ต่ำกว่า 3 นาที
บทที่ 12 ฝึกใช้โปรแกรมคำนวณ
ผ่นตารางทำการ (Spreadsheet) คือ แผ่นตารางที่ประกอบด้วยแนวตั้ง และแนวนอน ตัดกันเป็นช่องสี่เหลี่ยม แนวตั้งเรียกว่า "สดมภ์" (Column) แนวนอนเรียกว่า "แถว" (Row) ช่องสี่เหลี่ยมที่เกิดจากการตัดกันของสดมภ์และแถวเรียกว่า "เซลล์" (Cell) ใช้สำหรับบรรจุตัวอักษร ตัวเลข รูปภาพ หรือสูตรคำนวณต่าง ๆ
wiki : แผ่นตารางทำการ
thaiall.com/office/
2 เทคนิคประมวลผลคะแนนสอบออนไลน์ใน Sheet อ้างอิงจากคำตอบของคุณครู
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก MS Excel
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Excel แบบต่าง ๆ ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกใช้โปรแกรมคำนวณ
+ การใช้ excel function เพื่อตัดเกรด
เกรดเฉลี่ยสะสม 1.5 กับ 1.8 กับ 2.0
ารสำเร็จการศึกษา เกิดขึ้นเมื่อเรียนครบ ตามเงื่อนไขของหลักสูตรที่ปรากฎใน คู่มือการศึกษา แต่ถ้าระหว่างเรียนทำเงื่อนไขใดตกหล่น ก็อาจไม่สำเร็จการศึกษา หรือ #พ้นสภาพ หรือติดอยู่ใน #วิทยาทัณฑ์ ดังนั้น 1) เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตร จึงสะท้อนภาพรวมจากการเรียนในหลักสูตรนั้น 2) เกรดวิชา สะท้อนเฉพาะวิชา 3) เกรดเฉลี่ยภาค สะท้อนเฉพาะภาค 4) คะแนนสอบครั้งใด สะท้อนเฉพาะครั้งนั้น
คำถาม คือ 1) เกรดเฉลี่ยสะสมปัจจุบันคือเท่าไร 2) ขณะนี้เก็บได้กี่หน่วยกิตจากทั้งหมดกี่หน่วยกิต และ 3) เหลืออีกกี่วิชาจะสำเร็จการศึกษา แล้ว 4) ควรใช้อะไรมาช่วยหาคำตอบข้างต้นนี้
ระบบทำนายเกรด
เกรดเฉลี่ยสะสม คือ อะไร
บทที่ 13 ฝึกเขียนแผนที่ความคิด
ายด์แม็ป หรือ แผนที่ความคิด หรือ ผังมโนภาพ (Mind Map) คือ แผนภาพที่แสดงความคิดที่เชื่อมโยงกับเหมือนกับการเชื่อมโยงของเซลประสาทในสมอง โดยใช้คำ ภาพ หรือสัญลักษณ์ที่เชื่อมโยงกันแล้วแผ่เป็นรัศมีออกไปจากศูนย์กลาง การวาดแผนที่ความคิดถูกใช้เป็นเครื่องมือนำเสนอประเด็นจากการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือการนำเสนอความคิด ที่ช่วยให้การสรุปประเด็นมีความชัดเจนผ่านเครื่องมือที่เรียกว่าแผนที่ความคิด (Mind Map) ซึ่งมีการนำไปใช้สอนให้นักเรียนระดับประถมศึกษาฝึกใช้เป็นเครื่องมือในการรวบรวมความคิดมาหลายปีแล้ว
thaiall.com/freemind/
ความสุขของเด็ก กับ ห้องเรียนแห่งอนาคต
หมวกการคิด 6 สี หรือ ทฤษฎีหมวก 6 ใบ
Mindjet Maps ( Google play / App store)
draw.io
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Mindmap
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Mindmap แบบต่าง ๆ ได้
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกเขียนแผนที่ความคิด
+ เครื่องมือ เช่น draw.io , infogram.com , powerpoint , freemind
บทที่ 14 ฝึกเขียนผังงาน
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความ หรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือข้อความทำได้ยากกว่าการใช้ผังงาน
การเขียนผังงาน คือ การเขียนแผนภาพเพื่อแสดงขั้นตอนการทำงาน โดยนำภาพสัญลักษณ์ต่าง ๆ มาเรียนต่อกัน สัญลักษณ์ที่นิยมใช้ในการเขียนผังงานนั้นหน่วยงานที่ชื่อว่า American National Standards Institute (ANSI) และ International Standard Organization (ISO) ได้ร่วมกันกำหนดสัญลักษณ์มาตรฐาน
thaiall.com/flowchart/
thaiall.com/flowchart/flowchart_doc_sys.pptx
Flowdia Diagrams Lite ( Google play / App Store)
draw.io
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Flowchart
+ มองเห็นประโยชน์ของ Flowchart
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ เข้าใจสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียน
+ จัดทำ Flowchart
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกเขียนผังงาน
+ ผังขั้นตอนการทำงานกลุ่ม
บทที่ 15 ฝึกเขียน Gantt chart
ผนภูมิแกนต์ (Gantt chart) หมายถึง แผนผังคุมกำหนดงาน มักใช้ในด้านการจัดการโครงการในองค์การขนาดใหญ่ ซึ่งมีขั้นตอนซับซ้อน และมีจำนวนมาก โดยจะใช้เป็นเทคนิคเครื่องมือช่วยการปฏิบัติงานของผู้บริหาร ในการดำเนินการ การควบคุม การวางแผน ปรับปรุงที่เหมาะสม เพื่อช่วยสนับสนุนให้การดำเนินงานบรรลุเป้าหมาย และวัตถุประสงค์ของโครงการอย่างมีประสิทธิภาพ
แผนภูมิแกนต์ แสดงถึงปริมาณงานและกำหนดเวลาที่จะต้องใช้ เพื่อให้งานนั้นให้ลุล่วง เป็นแผนภูมิกราฟแท่งที่ประกอบด้วย 2 แกนหลัก คือ แกนนอนแสดงถึงเวลาในการทำงานตลอดโครงการ และแกนตั้งแสดงถึงงานหรือกิจกรรมที่ต้องทำ แท่งกราฟวางตัวในแนวนอน ความยาวของแท่งกราฟเป็นสัดส่วนโดยตรงกับระยะเวลาในการทำงาน
ความหมายและตัวอย่าง
ต.ย. แผนหาแฟนใน 18 เดือน
wiki/แผนภูมิแกนต์
16 สไลด์ใน slideshare.net/Nicola2903
draw.io
หัวข้อ (Topics)
รู้จัก Gantt chart
+ เลือกประเด็นที่จะปรับใช้ได้
+ จัดทำ Gantt chart เป็น
นำเสนอผลงานได้
งานมอบหมาย
+ ฝึกเขียน Gantt chart
+ นำเสนองานกลุ่ม
งานออกแบบ Requirement
ถ้าท่านต้องทำเว็บไซต์ และระบบฐานข้อมูลออนไลน์ให้กับองค์กร ท่านจะมีขั้นตอนอย่างไร อธิบายมาโดยละเอียดตามวงจรการพัฒนาระบบ (SDLC) แล้วเสนอแผนการจัดการโครงการ (Project Management) ด้วย แผนภูมิแกนต์ (Gantt chart) ของ Henry Gantt ในปี ค.ศ. 1917 โดยมีรายละเอียดลำดับ ชื่อกิจกรรม ระยะเวลา อุปกรณ์ งบประมาณ ผู้รับผิดชอบ ที่แบ่งกิจกรรมได้เป็น 4 ขั้นตอน คือ 1) เริ่มโครงการ (Project Initiation) 2) วางแผนโครงการ (Project Planning) 3) ดำเนินการโครงการ (Project Execution) และ 4) ปิดโครงการ (Project Closure)
เอกสารอ้างอิง [1] ธีราวุธ ปัทมวิบูลย์. (2545). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
[2] ศรีไพร ศักดิ์รุ่งพงศากุล. ( 2549). ระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีการจัดการความรู้. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[3] Timothy J. O'Leary & Linda I. O'Leary. (2549). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่(ยาใจ โรจนวงศ์ชัย และคณะ, ผู้แปลและเรียบเรียง) ( พิมพ์ครั้งที่ 6). กรุงเทพฯ : แมคกรอ-ฮิล.
[4] โอภาส เอี่ยมสิริวงศ์. (2551). วิทยาการคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[5] Ralph M. Stair, Jr. (1986). Computers in today's world. Homewood: Irwin.
[6] Laudon, K., & Laudon, J. (2016). Management Information System. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.
[7] Luftman, Jerry N., "Managing the Information Technology Resource"
[8] Long, Larry, "Management Information System"
[9] จิตติมา เทียมบุญประเสริฐ. (2544). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: วี.เจ.พริ้นติ้ง.
[10] ประสงค์ ปราณีตพลกรัง และคณะ. (2543). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ และกรณีศึกษา. กรุงเทพฯ: ธนรัชการพิมพ์.
[11] ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์ และไพบูลย์ เกียรติโกมล.(2545). ระบบสารสนเทศเพื่อการจัดการ. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[12] ศศลักษณ์ ทองขาว และคณะ. (2556). คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[13] วิโรจน์ ชัยมูล, และสุพรรษา ยวงทอง. (2557). ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โปรวิชั่น.
[14] ธัญธัช นันท์ชนก. (2557). Google Adsense มือใหม่ก็รวยได้. กรุงเทพฯ: วิตตี้กรุ๊ป.
[15] สมชัย อักษรารักษ์ และอศินา พรวศิน. (2547). Being e-Citizen by e-Government โฉมหน้าบริการอิเล็กทรอนิกส์ภาครัฐเพื่อคนไทย. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[16] วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ และกมลรัตน์ ฉิมพาลี. (2559). ห้องเรียนแห่งอนาคต เปลี่ยนครูให้เป็นโค้ช. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
[17] สำนักประชาสัมพันธ์ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2561). กลยุทธ์การประชาสัมพันธ์ผ่านสื่อสังคมออนไลน์ด้วยการใช้เฟสบุ๊ค (Facebook) สืบค้น 3 มกราคม 2563, จาก http://www.senate.go.th
Thaiall.com