ปรับปรุง : 2564-04-09 (ปรับรูปแบบ)
การศึกษา

ารศึกษา (Education) คือ กระบวนการที่สนับสนุนการเรียนรู้ หรือการได้มาซึ่งความรู้ ทักษะ คุณค่า ความเชื่อ และนิสัย วิธีการศึกษามีทั้ง การเล่าเรื่อง การทำกลุ่มอภิปราย การสอน การอบรม และการวิจัยทางตรง การศึกษามักเป็นการชี้แนะของผู้ให้การศึกษา แล้วผู้เรียนก็ต้องศึกษาเรียนรู้ด้วยตัวของเขาควบคู่พร้อมกันไป การศึกษาสามารถจัดแบ่งเป็นทางการและไม่เป็นทางการ ที่จะทำให้เกิดประสบการณ์ เกิดผลอย่างเป็นรูปธรรมต่อการคิด การรู้สึก หรือพฤติกรรม จึงถือว่าเป็นการศึกษา
กรด (grade) คือ ผลการเรียนของนักเรียน นักศึกษา ที่ประเมินด้วยเครื่องมือต่าง ๆ ให้ทราบว่าผู้เรียนมีความรู้ ความสามารถ ทักษะ หรือความพร้อมในเรื่องนั้นอยู่ในระดับใด ซึ่งเกรดจะเป็นผลประเมินในแต่ละวิชา อาทิ คณิตย์ อังกฤษ วิทย์ ว่าได้ A, B, C, D, S, U หรือ F

ต.ย. ข้อมูลรายวิชา หลักสูตร CPSC
Semester 1/2560
CIVI 100
อารยธรรมและประวัติศาสตร์ศิลป์
2
CPSC 131
วิทยาการคอมพิวเตอร์พื้นฐาน
3
ECON 100
เศรษฐศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
2
ENCO 101
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1
3
LAWS 102
กฎหมายทั่วไป
2
LEAC 100
การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 1
1
MATH 100
คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
2
PSYC 1O9
วิทันตสาสมาธิ (สมาธิเพื่อพัฒนาชีวิต)
3
TECH 100
สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ
2
Semester 2/2560
CPSC 103
ตรรกะดิจิทัล
3
CPSC 132
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 1
3
ENCO 102
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2
3
LEAC 200
การเรียนรู้ผ่านกิจกรรม 2
1
MATH 101
แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 1
3
SCIE 100
สิ่งแวดล้อมกับชีวิต
2
SOCU 100
สังคมและวัฒนธรรม
2
Semester 1/2561
CPSC 231
โครงสร้างข้อมูล
3
CPSC 232
การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์ 2
3
CPSC 251
สถาปัตยกรรมและองค์ประกอบคอมพิวเตอร์
3
ENCO 201
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 3
3
MATH 102
แคลคูลัสและเรขาคณิตวิเคราะห์ 2
3
TAPS 100
การคิด การสื่อสารและการแก้ปัญหา
2
Semester 2/2561
COMM 2O5
สื่อใหม่และคอมพิวเตอร์สำหรับงานฯ
3
COMP 300
คอมพิวเตอร์เพื่อการทำงาน
2
CPSC 221
วิศวกรรมซอฟต์แวร์
3
CPSC 233
การพัฒนาซอฟต์แวร์เชิงอ๊อบเจกต์
3
CPSC 241
ระบบปฏิบัติการ
3
CPSC 242
การวิเคราะห์และออกแบบขั้นตอนวิธี
3
CPSC 291
การฝึกงานวิชาชีพ 1
2
ENCO 202
ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 4
3
MATH 201
คณิตศาสตร์ดิสครีต
3
Semester 1/2562
CPSC 311
การจัดการระบบสารสนเทศในองค์กร
3
CPSC 321
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับคอมพิวเตอร์
3
CPSC 322
ระบบฐานข้อมูล
3
CPSC 331
การออกแบบและพัฒนาเว็บไซต์
3
CPSC 341
การสื่อสารข้อมูล
3
CPSC 462
การเขียนโปรแกรมภาษาจาวา
3
Semester 2/2562
CPSC 312
การวิเคราะห์และออกแบบระบบ
3
CPSC 313
กฎหมาย&จริยธรรม ผู้ประกอบวิชาชีพฯ
3
CPSC 342
เครือข่ายคอมพิวเตอร์
3
CPSC 343
คอมพิวเตอร์กราฟิกส์
3
CPSC 381
โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์ 1
3
CPSC 391
การฝึกงานวิชาชีพ 2
2
CPSC 461
การเขียนโปรแกรมเชิงออบเจ็กต์และดีไซน์ฯ
3
Semester 1/2563
CPSC 421
ปัญญาประดิษฐ์
3
CPSC 431
การพัฒนาโปรแกรมบนอุปกรณ์เคลื่อนที่
3
CPSC 464
เทคโนโลยีการประมวลผลแบบกลุ่มเมฆ
3
CPSC 471
การศึกษาเฉพาะเรื่องทางวิทยาการฯ
3
CPSC 481
โครงงานวิทยาการคอมพิวเตอร์ 2
3
STAT 201
สถิติสำหรับนักวิทยาศาสตร์
3
GPA : CR=20 CE=20 CD=15 GP=58.50 GPA=3.90
CGPA : CR=117 CE=117 CD=103 GP=350.50 GPA=3.40
คู่มือนิสิต 2563
- สาธารณสุขศาสตร์ p.34
- บริหาร + การบิน p.59
- นิเทศศาสตร์ p.200
- พยาบาลศาสตร์ p.226
- ทันตแพทย์ p.249
- เทคนิคการแพทย์ p.283
- เกณฑ์ทักษะไอที p.367
- ต.ย. เกรด CS jpg,txt
- ต.ย. xls วิชา + cgpa
ทำนายผลการเรียน

ต.ย.รายวิชา CPSC

ต.ย.เกรด D

ความหมายเกรด
IDOL
ทางการศึกษา
รางวัล เยาวชนต้นแบบ ปี 2560

เฌอปราง อารีย์กุล (Cherprang Areekul) สาวน้อยนักวิทยาศาสตร์ ปริญาตรี เกียรตินิยม อันดับ 2 สาขาวิชาเคมี วิชาโทฟิสิกส์ ภาควิชาวิทยาศาสตร์ วิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล มีผลงาน การทดลองขวดสีน้ำเงิน (The Blue Bottle Experiment)
Cumulative GPA = 3.46
sanook.com/campus
โอตะ - BNK48 (J6+)
SGSS
SGS (Secondary Grading System) คือ ระบบการประเมินผลการเรียนของโรงเรียนกลุ่มมัธยมศึกษาทั่วประเทศ ของสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการวัดผลและประเมินผลการเรียน
ปพ. ย่อมาจาก เอกสารการประเมินผลตามหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
ปพ.1 = ระเบียนแสดงผลการเรียน
ปพ.2 = หลักฐานแสดงวุฒิการศึกษา (ประกาศนียบัตร)
ปพ.3 = แบบรายงานผู้สำเร็จการศึกษา
ปพ.4 = แบบแสดงผลการพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ปพ.5 = เอกสารบันทึกการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
ปพ.6 = แบบรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียนรายบุคคล (สมุดพก)
ปพ.7 = ใบรับรองผลการศึกษา
ปพ.8 = ระเบียนสะสม
ปพ.9 = สมุดบันทึกผลการเรียนรู้
Checklist
มีนิสิต ได้แชร์เรื่องการเตรียมสมัครงาน แล้วผมก็นำไปเล่าใน /jmeter ว่า ผู้เรียนรู้ ผู้สมัครงาน หรือ ว่าที่พนักงานใหม่่ ต้องมี 1) ความเชี่ยวชาญ (proficient) 2) ประสบการณ์ (experienced) 3) ความคุ้นเคย (familiar) ในเรื่องใดบ้าง หากต้องทำเช็คลิสต์ จะมีผลออกมาเป็นรูปแบบใด โดยความแตกต่างของความเชี่ยวชาญ ประสบการณ์ และความคุ้นเคยนั้น จะเชื่อมโยงกับคำว่า ทักษะ (skill) ที่ตรงข้างกับ ไม่มีทักษะ (no skill) นั่นคือสิ่งที่ไม่เคยอ่าน ไม่เคยเขียน ไม่เคยทำ จำไม่ได้ ย่อมไม่คุ้นเคย ดังนั้น 1) สิ่งใดเคยอ่าน เคยทำ และพอจำได้ เรียกว่า มีความคุ้นเคย 2) สิ่งใดเคยอ่าน เคยทำ จำได้ ใช้เป็น แต่ไม่บ่อยนัก เรียกว่า มีประสบการณ์ 3) สิ่งใดทำทุกบ่อย และทำได้ดี เรียกว่า มีความเชี่ยวชาญ เมื่อพอทราบนิยามแล้ว ขอชวนมาทำเช็คลิสต์กันครับ
หัวข้อ 1.
ความเชี่ยวชาญ
(proficient)
2.
ประสบการณ์
(experienced)
3.
ความคุ้นเคย
(familiar)
1. ความเชี่ยวชาญ (proficient)

2. ประสบการณ์ (experienced)

3. ความคุ้นเคย (familiar)