thaiall logomy background

การเขียนเอกสารอ้างอิงในบทความวิจัยเพื่อส่งวารสารวิชาการ แบบ APA

my town
spss | apa | peer review | TCI-1140 | TCI-1243 | TCI-1338 | research | NCCIT | ประชุมวิชาการ | อักขราวิสุทธิ์ | อ้างอิงแบบ IEEE | SJR + SIR + SCOPUS |
การเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ APA คืออะไร ารเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ APA (American Psychological Association) คือ การเขียนระบุแหล่งที่มาของข้อมูลที่เป็นความคิดของผู้อื่นที่นำมาใช้รูปแบบหนึ่ง เพื่อประกอบการเขียนในเอกสาร รายงาน บทความ เพื่อระบุแหล่งที่มาของข้อมูลที่เป็นเนื้อหาทางวิชาการที่ได้มาจากการค้นคว้า ทั้งจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถระบุแหล่งที่อ้างอิงข้อความมาเขียนได้ โดยให้รายละเอียดอ้างอิงในบทความ หรือในบรรณานุกรม
การเขียนเอกสารอ้างอิง และตัวอย่างรูปแบบ
1. การเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ APA
ารอ้างอิง (Reference) คือ การเขียนระบุแหล่งที่มาของข้อมูลที่เป็นความคิดของผู้อื่นที่นำมาใช้ เพื่อประกอบการเขียนในเอกสาร รายงาน บทความ เพื่อระบุแหล่งที่มาของข้อมูลที่เป็นเนื้อหาทางวิชาการที่ได้มาจากการค้นคว้า ทั้งจากสื่อสิ่งพิมพ์ สื่อโสตทัศน์ และสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ซึ่งสามารถระบุแหล่งที่อ้างอิงข้อความมาเขียนได้ โดยให้รายละเอียดอ้างอิงในบทความ หรือในบรรณานุกรม
วามสำคัญของการอ้างอิง ซึ่งการเขียนรายงานที่ได้จากการศึกษาค้นคว้าข้อมูลจากหลายแหล่งมาประกอบการเขียนนั้น ผู้เขียนอาจได้นำแนวคิด หรือคัดลอกข้อความส่วนหนึ่งส่วนใดจากผลงานของผู้อื่นที่เป็นทรัพย์สินทางปัญญา จึงต้องเขียนอ้างอิงเอกสารหรือผลงานที่ได้คัดลอกมาให้ชัดเจน 1) เพื่อแสดงการรับรู้ในสิทธิ หรือลิขสิทธิ์ของเจ้าของแนวคิดหรือผลงานนั้น ที่เป็นจริยธรรมทางวิชาการ และการให้เกียรติแก่เจ้าของผลงาน 2) เพื่อแสดงหลักฐาน และเพิ่มน้ำหนักความน่าเชื่อถือของข้อมูลที่นำเสนอ 3) เพื่อช่วยให้ผู้อ่านเข้าถึงข้อมูล หรือตรวจสอบแหล่งที่มาของข้อมูล หรือหลักฐานเดิม 4) เพื่อป้องกันการละเมิดลิขสิทธิ์
ทความทางวิชาการ คือ งานเขียนประเภทร้อยแก้วที่ถ่ายทอดความคิด ข้อมูล ข่าวสาร โดยใช้ตัวอักษรเป็นสื่อกลาง เป็นงานเขียนหรือความเรียงที่ประสงค์จะสื่อองค์ความรู้ หรือข้อค้นพบใหม่ ๆ ทางวิชาการในสาขาวิชาใดวิชาหนึ่งที่มีความเฉพาะ เช่น บทความวิชาการ บทความวิจัย เพื่อเสนอบทสรุป แนวคิด หลักการ หรือแบบจำลอง
ทความวิจัย คือ งานเขียนที่ประสงค์ถ่ายทอดข้อค้นพบที่ได้มาจากกระบวนการวิจัยตามโครงการวิจัย ที่มีวัตถุประสงค์การวิจัย ระเบียวิธีการ สรุปผล อภิปรายผล และข้อเสนอแนะ
ทความวิชาการ คือ งานเขียนที่ประสงค์ถ่ายทอดข้อค้นพบที่ได้จากการประมวลเนื้อหา ทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยที่เผยแพร่ ทฤษฎี บทสรุป แล้วนำมาเรียบเรียงใหม่อย่างเป็นระบบตามมุมมองของผู้เขียน
ารเขียนเอกสารอ้างอิงแบบ APA (American Psychological Association) ซึ่ง ผลงานวิชาการที่มีคุณภาพจำเป็นต้องมีการอ้างอิงที่มีรูปแบบถูกต้อง ครบถ้วน และเป็นมาตรฐาน อาจอยู่ในรูปของบรรณานุกรม หรือเอกสารอ้างอิง ที่พบได้ใน บทความในวารสาร ประชุมวิชาการระดับชาติ หนังสือ ตำรา รายงานการวิจัย วิทยานิพนธ์ หรือโปสเตอร์
วิธีการเขียนบรรณานุกรม รูปแบบ APA 6 ในงานวิชาการ (grad.nu)
คู่มือการเขียนรายการอ้างอิงตามแบบ APA, 6th Edition (human.cmu 36 หน้า)
การเขียนบรรณานุกรม (28 หน้า)
สถิติดาวน์โหลด + การอ้างอิงบทความวิจัย ในวารสารกลุ่ม 2 - Thaijo
2. ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิงแบบต่าง ๆ
เอกสารอ้างอิง : หนังสือ

จุมพต สายสุนทร. (2552).  กฎหมายระหว่างประเทศ (พิมพ์ครั้งที่ 8 แก้ไขเพิ่มเติม).  กรุงเทพฯ: วิญญูชน.

Harris, M. B. (1995).  Basic statistics for behavioral science research.  Boston: Allyn and Bacon.

ปิยะ นากสงค์ และ พันธุ์รวี วรสิทธิกุล. (2545).  ดูหนังฟังเพลงเล่นเกมร้องคาราโอเกะ.  กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.

American Psychological Association. (2010).  Publication Manual of the American Psychological Association (6th ed).  Washington, DC: Author.

American Psychological Association. (2012).  APA style guide to electronic references (6th ed.).   Washington, DC: Author.

เอกสารอ้างอิง : วารสาร

ปิยะวิทย์ ทิพรส. (2553).  การจัดการป้องกันและลดสารให้กลิ่นโคลน Geosmin ใน ผลิตภัณฑ์แปรรูปสัตว์น้ำ.  วารสารสุทธิปริทัศน์, 23(72), 103-119.

ศรัณย์ สาวะดี และ ดัชกรณ์ ตันเจริญ. (2559).  ระบบการจัดการงานประชุมวิชาการระดับชาติสำหรับสถาบันการศึกษาแห่งองค์กรธุรกิจ.  วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(3), 229-241.

นเรศ บัวลวย และ ศุภกาญจน์ จำเริญรักษ์. (2564).  การศึกษาปัจจัยส่วนบุคคลที่ส่งผลต่อความภักดีของกลุ่มแฟนคลับต่อสโมสรฟุตบอลจังหวัดสมุทรสาครวารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 11(1), 45-54.

ลําดวน เทียรฆนิธิกุล. (2552).  เส้นทางเสด็จเยี่ยมราชสํานักต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปีพ.ศ. 2443–2444 (ร.ศ. 119-120).  วชิราวุธานุสรณ์สาร, 28(4), 29-39.

Siriwongworawat, S. (2003).  Use of ICT in Thai libraries: An overview.  Program: Electronic Library and Information Systems, 37(1), 38-43.

พวงพยอม ชิดทอง, ปวีณา โฆสิโต, ปภัส ฉัตรยาลักษณ์, พัดชา ปิณฑะดิษ, และ สิริกาญจน์ สง่า. (2561).  รูปแบบการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อส่งเสริมทักษะการคิดอย่างมีวิจารณญาณและผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนในกลุ่มรายวิชาจิตวิทยาสำหรับนักศึกษาคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.  วารสารบัณฑิตวิจัย, 9(1), 1-23.

อัศนีย์ ณ น่าน, กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ, และ ประภัสสร วรรณสถิตย์. (2562).  ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยด้านจิตวิทยากับการต่อต้านการเปลี่ยนแปลงของบุคลากรโรงพยาบาลเอกชนในเขตภาคเหนือตอนบน.  วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 197-205.

รุจน์ ฤาชา, ประพันธ์ศิริ สุเสารัจ, วิไลลักษณ์ ลังกา, และ ดวงใจ สีเขียว. (2564).  การพัฒนาหลักสูตรที่เน้นสังคมเป็นศูนย์กลางร่วมกับการอภิปรายไตร่ตรอง เพื่อเสริมสร้างสมรรถนะพลเมืองยุคดิจิทัลสำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย.  วารสารศึกษาศาสตร์, 32(2), 39-52

สุธาสินี พ่วงพลับ. (2555).  การสื่อสารด้วยอวัจนภาษาในพฤติกรรมโกหก หลอกลวงของมนุษย์วารสารปัญญาภิวัฒน์, 4(1), 141-151.

Ekman, P. & Friesen, W. V. (1971).  Constants cross culture in the face and emotion.  Journal of Personality and Social Psychology, 17, 124-129.

เอกสารอ้างอิง : ในหนังสือ/เฉพาะบท/เรื่องในเล่ม

ณัฐพล ปัญญโสภณ. (2554). มุมมองของนักศึกษานิเทศศาสตร์ต่อกระบวนการผลิตละครเพื่อการสื่อสาร. ใน ชนัญชี ภังคานนท์(บ.ก.), กระบวนทัศน์มหาวิทยาลัยไทยบนความท้าทายของเอเชียแปซิฟิก (น. 23-24). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

กาบู. (2544). ใน ประเสริฐ ณ นครและคณะ (คณะกรรมการชําระพจนานุกรม), พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (น. 112). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.

กิตติ ทองลงยา. (2524). นก. ใน สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 3) (น. 68-113). กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน.

วงศ์ วรรธนพิเชฐ. (2547). Heart. ใน พจนานุกรมตัวอย่าง ประโยค วลี ภาษาอังกฤษพร้อมคําแปล (น. 483-484). กรุงเทพฯ: ไทยเวย์ส พับลิเคชั่นส์.

เอกสารอ้างอิง : ประชุมวิชาการ

จตุพร ตันติรังสี และ ผุสดี บุญรอด. (2555). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้การสอนแบบ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 9 (น. 209-214). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.

ศิริวัฒน์ เอกนิธิวรากรกุล, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ศศิวิมล แรงสิงห์. (2561). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ไส้อั่วสมุนไพร ของจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 13 (น. 244-251). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

ปิยวุฒิ เกาะหมาน และ พิชามญชุ์ วรรณชาติ. (2562). แนวคิดเรื่องบาปทั้ง 6 ตามความเชื่อทางศาสนาคริสต์และด้านมืดของตัวละคร ในนวนิยายชุด เจรจาต่อตาย ของ tiara. ใน การประชุมวิชาการด้านมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ระดับชาติ ครั้งที่ 2 (น. 317-327). สงขลา: มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา.

เอกสารอ้างอิง : ปริญญานิพนธ์

ก้องเกียรติ บูรณศรี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นผู้ประกอบการขององค์การ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและผลการดําเนินงานของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตขนาดกลางและขนาดใหญ่ในพื้นที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พิมล พร้อมมูล. (2555). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการจัดการข้อมูลการควบคุมคุณภาพ (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

ศรีคุณ วิวัฒน์เสรี. (2546). การศึกษาแนวโน้มของหลักสูตรนิเทศศาสตร์ในทศวรรษหน้าในทัศนะของนักวิชาการและนักวิชาชีพนิเทศศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้รับการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสยาม, กรุงเทพฯ.

เอกสารอ้างอิง : ปริญญานิพนธ์ฐานข้อมูลออนไลน์

วลัย วัฒนะศิริ. (2553). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมอุดมศึกษานานาชาติของไทยในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://www.dpu.ac.th/laic

มานพ จันทร์เทศ. (2547). การนำเสนอรูปแบบการพัฒนานโยบายของสถาบันราชภัฏ (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย). สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th/tdc

3. การอ้างอิงใน วารสารศึกษาศาสตร์ และ วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์
ราสามารถค้นชื่อเรื่อง บทคัดย่อ หรือชื่อผู้แต่ง จากฐานข้อมูลวารสาร tci-thaijo.org ซึ่งแต่ละวารสารจะรับบทความวิชาการ หรือบทความวิจัย ที่ตรงกับสาขาของตนเอง ที่กำหนดรูปแบบในการเขียน และมีการเขียนอ้างอิงในแบบที่วารสารกำหนด บางฉบับเชื่อมกับ ตัวระบุวัตถุดิจิทัล หรือ ตัวบ่งชี้วัตถุดิจิทัล DOI (Digital Object Identifier) เป็นระบบสากลที่ใช้ระบุตัวเอกสารอิเล็กทรอนิกส์ โดยไม่ขึ้นกับตำแหน่งที่อยู่ของเอกสารนั้น
ตัวอย่างการอ้างอิงแบบ APA จาก Thaijo บน วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ปีที่ 23 ฉบับที่ 4 (2564): ตุลาคม-ธันวาคม (TCI กลุ่ม 1) ซึ่งในบทความได้กำหนดให้เขียนเอกสารอ้างอิงเป็น ภาษาอังกฤษ แบบ APA
เอกสารอ้างอิง (วารสาร)

Lertdechapat, K., & Promratana, P. L. (2021). EFFECTS OF COLLABORATIVE INQUIRY ON COLLABORATIVE PROBLEM SOLVING ABILITY OF LOWER SECONDARY SCHOOL STUDENTS. JOURNAL OF EDUCATION NARESUAN UNIVERSITY, 23(4), 1-14. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/187189

Tasikhaow, K., Phibanchan, S., & Sirisawat, C. (2021). THE EFFECT OF 5E INQUIRY APPROACH AND ANALYTICAL QUESTIONS TO PROMOTE ANALYTICAL THINKING AND LEARNING ACHIEVEMENT ON LINEAR MOTION IN PHYSICS OF 10TH GRADE STUDENTS : ผลการจัดการเรียนรู้แบบสืบเสาะหาความรู้ 5 ขั้น ร่วมกับคำถามเชิงวิเคราะห์เพื่อพัฒนาการคิดวิเคราะห์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาฟิสิกส์ เรื่อง การเคลื่อนที่แนวตรง ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. JOURNAL OF EDUCATION NARESUAN UNIVERSITY, 23(4), 58-68. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/152251

Bualar, K., & Bhanthumnavin, D. (2021). STUDY OF FACTORS AS CORRELATES OF STUDY ENGAGEMENT BEHAVIOR OF THE FIRST-GENERATION UNIVERSITY STUDENTS: การศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมมุ่งมั่นในการเรียนของนักศึกษาระดับปริญญาตรีที่เป็นรุ่นแรกของครอบครัว. JOURNAL OF EDUCATION NARESUAN UNIVERSITY, 23(4), 86-106. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/190234

Chueapanya, J., Chaiprasert, P., Thongsorn, P., Sangkarn, P., & Detsri, C. (2021). A STUDY OF SCIENCE ACHIEVEMENT AND ATTITUDE TOWARD SCIENCE OF EIGHTH GRADE STUDENTS USING COOPERATIVE LEARNING TEAM GAME TOURNAMENT TECHNIQUE: การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาวิทยาศาสตร์และเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้แบบร่วมมือโดยเทคนิคกลุ่มเกมแข่งขัน. JOURNAL OF EDUCATION NARESUAN UNIVERSITY, 23(4), 134-145. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/171657

Presertsuk, N., Kerdnaimongkol, U., & Kaewkaewpan, W. (2021). THE STUDY OF GUIDELINE TO PROMOTE SCHOOL’S GUIDANCE OPERATION IN 21ST CENTURY: การศึกษาแนวทางส่งเสริมการดำเนินงานแนะแนวของสถานศึกษาในศตวรรษที่ 21. JOURNAL OF EDUCATION NARESUAN UNIVERSITY, 23(4), 226-239. Retrieved from https://so06.tci-thaijo.org/index.php/edujournal_nu/article/view/241839


ตัวอย่างการอ้างอิงแบบ APA จาก Thaijo บน วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม ปีที่ 15 ฉบับที่ 2 (2564): กรกฎาคม-ธันวาคม (TCI กลุ่ม 1) ซึ่งในบทความได้กำหนดให้เขียนเอกสารอ้างอิงเป็นแบบ APA
เอกสารอ้างอิง (วารสาร)

ฐิติมา ญาณะวงษา, สมเกียรติ อินทสิงห์, สุนีย์ เงินยวง, และ น้ำผึ้ง อินทะเนตร. (2564). หลักสูตรที่เน้นผลลัพธ์: แนวทางใหม่สำหรับหลักสูตรอุดมศึกษา. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2), 279-291.

ปรีชา ตั้งสุขขีย์ศิริ และ เพชรศรี นนท์ศิริ. (2564). การธำรงรักษาพนักงานรุ่นใหม่ของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2), 305-316.

สถิรพร เชาวน์ชัย. (2564). ภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์และแนวทางการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงกลยุทธ์ของผู้บริหารโรงเรียนมัธยมศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 39. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2), 374-384.

ชัญญา ชาตพิทยากุล. (2564). ผลของบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนภาษาโดยใช้แนวคิดการสร้างวินัย สำหรับผู้นำสี่แบบที่มีต่อความสามารถทางการทดสอบภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในระดับนานาชาติของนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏพิบูลสงคราม, 15(2), 399-416.

Srisook, T., Hiranwijitporn, N., & Kaewtem, S. (2020). Value Chain Concept of Processed Agricultural Products for Development Ability in Marketing Skills of Farmers in Lampang Province to Support Smart Farmer Project. Humanities and Social Sciences Journal of Pibulsongkram Rajabhat University, 14(2), 505-521. Retrieved from https://so01.tci-thaijo.org/index.php/GraduatePSRU/article/view/239537

4. ตัวอย่างการเขียนอ้างอิง ราชกิจจานุเบกษา ของ 10 วารสาร/ประชุมวิชาการ
ตัวอย่างที่ 1. วารสารครุศาสตร์

พระราชบัญญัติประถมศึกษา (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2505. (2505, 27 กรกฎาคม). ราชกิจจานุเบกษา (ฉบับพิเศษ). เล่ม 79 ตอนที่ 67. หน้า 24-31.

พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562. (2562, 27 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 136 ตอนที่ 69 ก. หน้า 52-95.

พระราชกฤษฎีกากำหนดหน่วยงานและกิจการที่ผู้ควบคุมข้อมูลส่วนบุคคลไม่อยู่ภายใต้บังคับแห่งพระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ. 2562 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2564. (2564, 8 พฤษภาคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 138 ตอนที่ 32 ก. หน้า 1-3.

so02.tci-thaijo.org/index.php/EDUCU/article/view/153329/111738
ตัวอย่างที่ 2. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์

ราชกิจจานุเบกษา. (2553). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ.2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 และ (ฉบับที่ 3) พ.ศ.2553. เล่ม 127 ตอนที่ 45 ก 22 กรกฎาคม 2553.

so04.tci-thaijo.org/index.php/WTURJ/article/view/254539/
ตัวอย่างที่ 3. วารสารวิชาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า.

สภาความมั่นคงแห่งชาติ สํานักนายกรัฐมนตรี. (2558). นโยบายความมั่นคงแห่งชาติพ.ศ.2558-2564 (พิมพ์ครั้งที่ 1).สํานักพิมพ์คณะรัฐมนตรีและราชกิจจานุเบกษา, 3.

ศูนย์ศึกษายุทธศาสตร์ สถาบันวิชาการป้องกันประเทศ. (2554). การพัฒนาหลักการจัดการความมั่นคงไม่ตามแบบ (พิมพ์ครั้งที่ 1).

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2560.

so01.tci-thaijo.org/index.php/CRMA_HUSO/article/view/246981/
ตัวอย่างที่ 4. วารสารปัญญาปณิธาน.

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ ซึ่งแก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560. เล่ม 134 ตอนที่ 10 ก (24 มกราคม 2560).

ราชกิจจานุเบกษา. (2562). พระราชบัญญัติคุ้มครองข้อมูลส่วนบุคคล พ.ศ.2562. เล่ม 136 ตอนที่ 69 ก (3 มีนาคม 2565).

so05.tci-thaijo.org/index.php/PPJ/article/view/245314
ตัวอย่างที่ 5. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์

ราชกิจจานุเบกษา. (2564). ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2561-2580). ค้นเมื่อวันที่ 20 พฤษภาคม 2564, เข้าถึงได้จาก www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2561/A/082/T_0001.PDF

so05.tci-thaijo.org/index.php/saujournalssh/article/view/252723
ตัวอย่างที่ 6. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยราชภัฎบุรีรัมย์

กฎกระทรวงกําาหนดจํานวนการจ้างงานและมูลค่าสินทรัพย์ถาวรของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2545. (2545, 20 กันยายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 119 ตอนที่ 93 ก. หน้า 17.

กฎกระทรวงกําาหนดลักษณะของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม พ.ศ. 2562. (2563, 7 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่มที่ 137 ตอนที่ 1 ก. หน้า 1-3.

so02.tci-thaijo.org/index.php/bruj/article/view/245730
ตัวอย่างที่ 7. วารสารวิจยวิชาการ

“พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ศ. 2550”. (2550, 18 มิถุนายน). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 124 ตอน 27 ก, หน้า 4–13.

“พระราชบัญญัติว่าด้วยการกระทำความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2560”. (2560, 24 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 134 ตอน 10 ก, หน้า 24–35.

so06.tci-thaijo.org/index.php/jra/article/view/247425/
ตัวอย่างที่ 8. วารสารวิชาการนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยทักษิณ

ราชกิจจานุเบกษา. (2554). เล่ม 128 ตอนที่ 30 ก วันที่ 29 เมษายน 2554 หน้า 1.

ราชกิจจานุเบกษา. (2562). เล่ม 136 ตอนที่ 69 ก วันที่ 27 พฤษภาคม 2562 หน้า 52-95.

so06.tci-thaijo.org/index.php/lawtsu/article/view/244042/
ตัวอย่างที่ 9. การประชุมนําเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษา ครั้งที่ ๑๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๐.

ราชกิจจานุเบกษา. (2550). พระราชบัญญัติส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตคนพิการ พ.ศ. 2550. เล่ม 124 ตอนที่ 61 ก หน้า 8 ประกาศใช้ 27 กันยายน 2550.

rsujournals.rsu.ac.th/index.php/rgrc/article/view/1161/
ตัวอย่างที่ 10. วารสารวิชาการ มจร บุรีรัมย์.

ราชกิจจานุเบกษา. (2546). พระราชบัญญัติผู้สูงอายุ พ.ศ. 2546.

ราชกิจจานุเบกษา. (2560). รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย พ.ศ. 2560.

so06.tci-thaijo.org/index.php/ambj/article/view/247212/
5. เอกสารอ้างอิงที่นิยมนำมาอ้างอิงสายสังคมศาสตร์
มาตรวัดของลิเคิร์ท (Likert scale)

Likert, R. (1932). A technique for measurement of attitudes. Archives of Psychology, 140, 5-55.

legacy.voteview.com/pdf/Likert_1932.pdf
scribd.com/..Likert-..Measurement-of-Attitudes-pdf
questionpro.com/blog/rensis-likert-and-the-likert-scale/

Anderson, L.W. (1988). Likert scales, education research methodology and measurement : An International Handbook. John, D. Keeves, eds, Victoria: Pergamon.

worldcat.org/title/../oclc/36143581
ครอนบาค (Cronbach) เพื่อทดสอบความเชื่อมั่น (Reliability) เก็บข้อมูล 30 ตัวอย่าง

Cronbach, L.J. (1951). Coefficient alpha and the internal structure of tests. Psychometrika, 16(3), 297-334.

cda.psych.uiuc.edu/../cronbach_1951.pdf
การหาค่าความตรงตามเนื้อหา (Content Validity) ด้วย IOC (Index of Item – Objective Congruence)

Rovinelli, R.J., & Hambleton, R.K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational Research, 2, 49-60.

files.eric.ed.gov/fulltext/ED121845.pdf
การคำนวณกลุ่มตัวอย่าง (Data sampling)

Krejcie, R. V. & Morgan, D. W. (1970). Determining Sample Size for Research Activities. Educational and psychological measurement, 30, pp. 607-610.

Table : home.kku.ac.th/sompong/../KrejcieandMorgan_article.pdf
Table : academia.edu/8276400/
Purchase : doi.org/10.1177/001316447003000308

Yamane, Taro. (1967). Statistics: An introductory analysis, 2nd Edition. New York: Harper and Row.

Content : gbv.de/dms/zbw/252560191.pdf
Google books : books.google.co.th/../Statistics.html
Likert scale
เกณฑ์การแปลความหมาย ที่แบ่งการให้คะแนนไว้ 5 ระดับ เสนอแนวคิดนี้โดย เร็นสิส เอ. ลิเคิร์ท ค.ศ.1932
Cronbach
ครอนบาค เสนอแนวคิด เพื่อทดสอบความเชื่อมั่น โดยเก็บข้อมูล 30 เคส หาค่าสัมประสิทธิ์แอลฟา
IOC
การหาค่าความตรงตามเนื้อหา (Validity) ด้วย Index of Item – Objective Congruence) พิจารณาโดยผู้เชี่ยวชาญ
Data sampling
การคำนวณหาจำนวนกลุ่มตัวอย่างที่เหมาะสมจากประชากร เช่น Krejcie & Morgan หรือ Taro Yamane
6. ตัวอย่างผลงานวิจัย : ด้านบริหารธุรกิจ และการสื่อสาร
6.1 เอกสารอ้างอิง (วารสาร)
ชื่อผู้แต่ง 1, 2, หรือ 3 คน

พรพิมล อริยะวงษ์. (2564). การประเมินผลตอบแทนทางสังคมจากการลงทุน (SROI) เพื่อสร้างความยั่งยืนของกลุ่มทอผ้ากี่กระตุกไหล่หินตะวันตก อำเภอเกาะคา จังหวัดลำปาง. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 10(2), 147-166.

จรัสศรี ต๊ะนนท์, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ภูม ศรีสุข. (2563). การศึกษาประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรของสหกรณ์ครูกรมสามัญศึกษาจังหวัดลำปางภายใต้หลักธรรมาภิบาลสหกรณ์. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(2), 1-11.

ทัศนียา กิตติภาคย์พฤทธ์, ฑัตษภร ศรีสุข, และ อัศนีย์ ณ น่าน. (2563). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการที่มีผลต่อการตัดสินใจท่องเที่ยวแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(3), 72-84.

ประภาพร สิงห์ทอง และ ฑัตษภร ศรีสุข. (2563). การศึกษาปัจจัยการให้บริการเพื่อพัฒนาคุณภาพสู่ความเป็นเลิศกรณีศึกษา สำนักงานแรงงานจังหวัดนครสวรรค์. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 23(1). 159-172.

อนาวิล ศักดิ์สูง, อัศนีย์ ณ น่าน, และ ฑัตษภร ศรีสุข. (2563). การยอมรับเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือและพฤติกรรมผู้บริโภคออนไลน์ที่ส่งผลต่อการเลือกใช้บริการสั่งอาหารผ่านทางแอปพลิเคชั่นของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(3), 162-174.

ฑัตษภร ศรีสุข. (2562). แนวทางการพัฒนากลุ่มผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปภายใต้โครงการผลักดันเกษตรกรก้าวสู่เกษตรกรปราดเปรื่องของจังหวัดลำปาง. วารสารวิจัยมหาวิทยาลัยเวสเทิร์น มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 6(1), 39-51.

ฑัตษภร ศรีสุข, นิรมล หิรัญวิจิตรภรณ์, และ สุบิน แก้วเต็ม. (2562). ห่วงโซ่คุณค่าของผลิตภัณฑ์เกษตรแปรรูปเพื่อพัฒนาทักษะด้านการตลาดของเกษตรกรในจังหวัดลำปาง รองรับโครงการ Smart Farmer. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฎพิบูลย์สงคราม, 14(2), 505-521.

สมหมาย พัฒนดิลก และ กฤษฎา ตันเปาว์. (2564). การสื่อสารทางการตลาดแบบบูรณาการของสินค้าสมุนไพรหนึ่งตําบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ระดับ 5 ดาว ประเภทสมุนไพรในภาคตะวันออกของประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์และมานุษยวิทยาเชิงพุทธ, 6(4), 272-289.

Srisook, T., Hiranwijitporn, N., & Kaewtem, S. (2563). Value Chain Concept of Processed Agricultural Products for Development Ability in Marketing Skills of Farmers in Lampang Province to Support Smart Farmer Project. Humanities and Social Sciences Journal of Pibulsongkram Rajabhat University, 14(2), 505-521. Retrieved from so01.tci-thaijo.org/index.php/GraduatePSRU/article/view/239537

6.2 เอกสารอ้างอิง : ประชุมวิชาการ
เวสเทิร์น #wtu20

อัครนันท์ กัญญา, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ภัชรชาติ ทูรวัฒน์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของฝากของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยวถนนคนเดินกาดกองต้าจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 (น. 289-299). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

ชญาดา วงศ์ตันกาศ, ฑัตษภร ศรีสุข, และ เถลิงศักดิ์ สุทธเขต. (2563). การศึกษาความเชื่อมั่นที่มีผลต่อความตั้งใจในการออมและการลงทุนของสมาชิกสหกรณ์ออมทรัพย์สาธารณสุขจังหวัดตาก จำกัด. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 (น. 55-67). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

พัชรา คำชื่นวงศ์, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ศศิชา วงศ์ไชย. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการเบิกจ่ายงบประมาณประจำปีของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 1 กรณีศึกษาจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 (น. 171-184). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

อัครนันท์ กัญญา, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ภัชรชาติ ทูรวัฒน์. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าของฝากของนักท่องเที่ยวในแหล่งท่องเที่ยว ถนนคนเดินกาดกองต้าจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 (น. 171-184). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

อังศิณา สุขสวัสดิ์, ฑัตษภร ศรีสุข, และ วราลักษณ์ ศรีกันทา. (2563). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจของผู้ปกครองในการส่งบุตรหลานเข้าศึกษาระดับปฐมวัยในโรงเรียนเอกชนจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 17 (น. 300-311). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

ศิริวัฒน์ เอกนิธิวรากรกุล, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ศศิวิมล แรงสิงห์. (2561). พฤติกรรมนักท่องเที่ยวและส่วนประสมทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อผลิตภัณฑ์ไส้อั่วสมุนไพร ของจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 13 (น. 244-251). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น.

อนาวิล ศักดิ์สูง และ อัศนีย์ ณ น่าน. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างการยอมรับเทคโนโลยีโทรศัพท์มือถือกับพฤติกรรมในการเลือกใช้บริการสั่งอาหารผ่านแอปพลิเคชั่นของผู้บริโภคในจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 4 MCU Nan Congress IIII (น. 1900-1909). น่าน: วิทยาลัยสงฆ์น่าน.

กนกรัตน์ ปัญญาวัง, ฑัตษภร ศรีสุข, และ กัญญ์พัสวี กล่อมธงเจริญ. (2563). ปัจจัยแรงจูงใจที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของผู้ปฏิบัติงานพัสดุในจังหวัดลำปาง. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 13 (น. 1916-1927). อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

ศิริพร พิงคะสัน, ฑัตษภร ศรีสุข, และ ภูม ศรีสุข. (2563). การศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อผลสัมฤทธิ์ในการเรียนหลักสูตรระยะสั้นของศูนย์เรียนรู้การพัฒนาสตรีและครอบครัวเฉลิมพระเกียรติ 72 พรรษา บรมราชินีนาถ จังหวัดลำพูน. ใน การประชุมวิชาการและการนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษา ระดับชาติ ครั้งที่ 13 (น. 1928-1936). อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.

Cramaneenant, C., & Srisook, T. (2020). Effect Digital Marketing Communication toward Services Using Decision via MyMo Application of Government Savings Bank’s Customers in Lampang Province. in The 7th Regional Conference on Graduate Research 2021 (น. 954-963). Khon Kaen: Sripatum University.

6.3 เอกสารอ้างอิง : เกี่ยวกับ สมาคม ชมรม ศิษย์เก่า

อนวัช มีเคลือบ, กิตติมา ชาญวิชัย, และ จิรวัฒน์ วีรังกร. (2560). การจัดการการสื่อสารเพื่อพัฒนาความผูกพันศิษย์เก่าของมหาวิทยาลัยรัฐในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร, 12(1), 163-177.

Whattananarong, K. (October 10, 2011). พลังของศิษย์เก่ากับสถาบันนิยม (The power of Alumni Institutionalism). Thairath online. Retrieved September 24, 2014, from http://www.thairath.co.th/content/207979

7. ตัวอย่างผลงานวิจัย : ด้านวิทยาศาสตร์สุขภาพ

กัลยารัตน์ วรรณวงศ์, สุภาภรณ์ อุดมลักษณ์, กาญจนา ดาวประเสริฐ, และ นาภรณ์ รักชาติ. (2564). การพัฒนารูปแบบการบริการการพยาบาลผู้ป่วยมะเร็งด้วยหัวใจความเป็นมนุษย์ของพยาบาลวิชาชีพ: การวิจัยและพัฒนา. วารสารกองการพยาบาล, 48(2), 1-14.

สุพิชญนันทน์ ไพบูลย์, จุฑามาศ โชติบาง, มาลี เอื้ออำนวย. (2564). ผลการสนับสนุนของพยาบาลต่อการดูแลทารกเกิดก่อนกำหนดของมารดาในหอผู้ป่วยหนักทารกแรกเกิด. พยาบาลสารมหาวิทยาลัยเชียงใหม่, 48(4), 161-173.

ศศิธร คำมี, มาลี เอื้ออำนวย, วรรณวิการ์ ใจกล้า, ขจรวิชญา ประภาเลิศ. (2565). ความรอบรู้ด้านสุขภาพและพฤติกรรมในการป้องกันโรคโควิด 19 ของผู้ปกครองในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก. พยาบาลสารตำรวจ, 14(1). xx-xx

รัตนาภรณ์ แบ่งทิศ และ วรรณ์วิการ์ ใจกล้า. (2565). การเตรียมความพร้อมของมารดาในการจำหน่ายทารกเกิดก่อนกำหนดจากโรงพยาบาล. วารสารสภาการพยาบาล, 37(2), 21-29.

Chuntana Reangsing, Pawadee Wimonlphan, Sathit Wongsuraprakit, and Sarah Oerther. (2564). Effects of Mindfulness-based Interventions on Depressive Symptoms and Alcohol Craving in Individuals with Comorbid Alcohol Use Disorder and Depression: A Systematic Review. Journal Psychosoc Nurs Ment Health Serv, 87, 1-7.

สถิตย์ วงศ์สุรประกิต, ฉันทนา แรงสิงห์, และ เจนนารา วงศ์ปาลี. (2564). ผลของโปรแกรมการบำบัดทางพฤติกรรมความคิดต่อภาวะซึมเศร้าในผู้ที่มีอาการของโรคซึมเศร้า. วารสารจิตวิทยา มหาวิทยาลัยเกษมบัณฑิต, 11(2), 47-58.

สมศรี สัจจะสกุลรัตน์ และ ธานี กล่อมใจ. (2564). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการปฏิบัติกิจการสงฆ์ของเจ้าอาวาส ในสถานการณ์ระบาดของโรคโควิด 19. วารสารวิจัยการพยาบาลและสุขภาพ, 22(2), 125-137.

8. คู่มือการเขียนรายการอ้างอิงตามแบบ APA, 6th และ 7th Edition
ตัวอย่างเรียบเรียงจากหัวข้อ 5.3 ตาม คู่มือ APA, 6th Edition (ม.เชียงใหม่)
คู่มือ APA, 6th Edition (ม.สยาม)
คู่มือ APA, 7th Edition (มรภ.มหาสารคาม)
คู่มือ APA, 7th Edition (จุฬา)

ตัวอย่างการลงรายการบรรณานุกรมของสื่อประเภทต่าง ๆ ที่ชวนให้ตรวจสอบ ???
1. หนังสือ
คู่มือการเขียนรายการอ้างอิงตามแบบ APA, 6th Edition (APA Referencing Guide, 6th Edition) โดย บุญฑา วิศวไพศาล
ต.ย.เอกสารอ้างอิงของ ม.ช.
ต.ย.บรรณานุกรมของ ม.เวสเทิร์น

จุมพต สายสุนทร. (2552). กฎหมายระหว่างประเทศ(พิมพ์ครั้งที่ 8 แก้ไขเพิ่มเติม). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
Harris, M. B. (1995). Basic statistics for behavioral science research. Boston: Allyn and Bacon.
ปิยะ นากสงค์ และ พันธุ์รวี วรสิทธิกุล. (2545). ดูหนังฟังเพลงเล่นเกมร้องคาราโอเกะ. กรุงเทพฯ: ซัคเซส มีเดีย.
สนอง วรอุไร. (2549). การทําชีวิตให้ได้ดีและมีสุข (พิมพ์ครั้งที่ 5). กรุงเทพฯ: อัมรินทร์.
Harris, M. B. (1995). Basic statistics for behavioral science research. Boston: Allyn and Bacon.
Creswell, J. W. (2003). Research design: Qualitative, quantitative and mixed method approaches (2nd.). CA: Sage.
พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. (2546). กรุงเทพฯ: นานมีบุ๊คส์.
วงศ์ วรรธนพิเชฐ. (2548). พจนานุกรมตัวอย่าง ประโยค วลี ภาษาอังกฤษพร้อมคําแปล. กรุงเทพฯ: ไทยเวย์ส พับลิเคชั่นส์.
สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน. (2548). กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู๋หัว.
หลากความคิด ชีวิตคนทํางาน. (2551). กรุงเทพฯ: แผนงานสุขภาวะองค์กรภาคเอกชน สํานักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ.
Art of display: Culture shows. (2010). Hong Kong, China: Links International.
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, สํานักหอสมุด. (2551). คู่มือการพิมพ์วิทยานิพนธ์ (พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพมหานคร: ผู้แต่ง.
American Psychological Association. (2010). Publication Manual of the American Psychological Association (6th ed). Washington, DC: Author.
2. บทความในหนังสือ
ณัฐพล ปัญญโสภณ. (2554). มุมมองของนักศึกษานิเทศศาสตร์ต่อกระบวนการผลิตละครเพื่อการสื่อสาร. ใน ชนัญชี ภังคานนท์(บ.ก.), กระบวนทัศน์มหาวิทยาลัยไทยบนความท้าทายของเอเชียแปซิฟิก (น. 23-24). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
กิตติ ทองลงยา. (2524). นก. ใน สารานุกรมไทยสําหรับเยาวชนโดยพระราชประสงค์ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัวเล่ม 1 (พิมพ์ครั้งที่ 3) (น. 68-113). กรุงเทพฯ: โครงการสารานุกรมไทยสําหรับเยาวชน.
กาบู. (2544). ใน ประเสริฐ ณ นครและคณะ (คณะกรรมการชําระพจนานุกรม), พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542 (น. 112). กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน.
วงศ์ วรรธนพิเชฐ. (2547). Heart. ใน พจนานุกรมตัวอย่าง ประโยควลีภาษาอังกฤษพร้อมคําแปล (น. 483-484). กรุงเทพฯ: ไทยเวย์ส พับลิเคชั่นส์.
3. วารสาร
ปิยะวิทย์ ทิพรส. (2553). การจัดการป้องกันและลดสารให้กลิ่นโคลน Geosmin ใน ผลิตภัณฑ์แปรรูปสัตว์น้ำ. วารสารสุทธิปริทัศน์, 24(72), 103-119.
ศรัณย์ สาวะดี และ ดัชกรณ์ ตันเจริญ. (2559). ระบบการจัดการงานประชุมวิชาการระดับชาติสำหรับสถาบันการศึกษาแห่งองค์กรธุรกิจ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(3), 229-241.
ลําดวน เทียรฆนิธิกุล. (2552). เส้นทางเสด็จเยี่ยมราชสํานักต่างประเทศของพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ปีพ.ศ. 2443 –2444 (ร.ศ. 119 - 120). วชิราวุธานุสรณ์สาร, 28(4), 29-39.
อดิศักดิ์ จำปาทอง และ ศชากานท์ แก้วแพร่. (2564). แนวทางการใช้สื่อสังคมออนไลน์เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุในจังหวัดลำปาง. วารสารนิเทศศาสตร์ธุรกิจบัณฑิตย์, 15(2), 235-267.
Siriwongworawat, S. (2003). Use of ICT in Thai libraries: An overview. Program: Electronic Library and Information Systems, 37(1), 38-43.
Tandra, R., Sahai, A., & Veeravalli, V. (2011, March). Unified space-time metrics to evaluate spectrum sensing. IEEE Communications Magazine, 49(3), 54-61.
4. การประชุมวิชาการ
ชัชพล มงคลิก. (2552). การประยุกต์ใช้กระบวนการลําดับชั้นเชิงวิเคราะห์ในการจัดตารางการผลิตแบบพหุเกณฑ์: กรณีศึกษาโรงงานอุตสาหกรรมผลิตยา. ใน การประชุมวิชาการการบริหารและการจัดการครั้งที่ 5 (น. 46). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
ธมนวรรณ กัญญาหัตถ์ และ ศรัณยพงศ์ เที่ยงธรรม. (2554). ความพึงพอใจของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครที่มีต่อประโยชน์ของสมาร์ทโฟน. ใน ชนัญชี ภังคานนท์(บ.ก.), กระบวนทัศน์มหาวิทยาลัยไทยบนความท้าทายของเอเชียปาซิฟิก (น. 119-121). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
จตุพร ตันติรังสี และ ผุสดี บุญรอด. (2555). การพัฒนาบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอนบนเครือข่ายอินเทอร์เน็ต โดยใช้การสอนแบบ ADDIE Model วิชา การใช้โปรแกรมกราฟฟิก. ใน การประชุมทางวิชาการระดับชาติด้านคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ ครั้งที่ 9 (น. 209-214). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ.
Krongtaew, C., Messner, K., Hinterstoisser, B., & Fackler, K. (2010). Lignocellulosic structural changes after physico-chemical pretreatment monitored by near infrared spectroscopy. In S. Saranwong, S. Kasemsumran, W. Thanapase, & P. Williams (Eds.), Near infrared spectroscopy: Proceedings of the 14th International conference (pp. 193-198). West Sussex, UK: IMP.
Soutar, G., & Mazzarol, T. W. (1995). Gaining competitive advantage in education services exports: Forward integration and strategic alliances in a maturing market. In G. Tower (Ed.), Proceeding of the Academy of International Business Southeast Asia Regional Conference, Asia Pacific International Business: Regional integration and global competitiveness (pp. 85-110). Perth: Murdoch University.
5. รายงานการวิจัย
พินิจ ทิพย์มณี. (2553). การวิเคราะห์ปัญหาทางกฎหมายที่เกี่ยวกับการตายของประเทศไทย (รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
เฉลิมสิน สิงห์สนอง. (2553). การพัฒนาชุดการเรียนโดยใช้ปัญหาเป็นฐานในรายวิชาคณิตศาสตร์ธุรกิจสําหรับนักศึกษาระดับปริญญาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์(รายงานผลการวิจัย). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
Chitnomrath, T. (2011). A study of factors regarding firm characteristics that affect financing decisions of public companies listed on the stock exchange of Thailand (Research report). Bangkok: Dhurakij Pundit University.
6. ปริญญานิพนธ์
ก้องเกียรติ บูรณศรี. (2553). ความสัมพันธ์ระหว่างความเป็นผู้ประกอบการขององค์การ สภาพแวดล้อมทางธุรกิจและผลการดําเนินงานของสถานประกอบการอุตสาหกรรมการผลิตขนาดกลางและขนาดใหญ่ในพื้นที่การนิคมอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
พิมล พร้อมมูล. (2555). การพัฒนาโปรแกรมคอมพิวเตอร์สำหรับการจัดการข้อมูลการควบคุมคุณภาพ (ปริญญานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
Nickels, D. W. (2005). The relationship between IT-business alignment and organizational culture: An exploratory study (Doctoral dissertation). Memphis, TN: University of Memphis.
วลัย วัฒนะศิริ. (2553). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการเพื่อส่งเสริมอุดมศึกษานานาชาติของไทยในประเทศอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://www.dpu.ac.th/laic
พัชรินทร์ บุญเทียม. (2553). หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการจัดการมหาวิทยาลัยเอกชนในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, กรุงเทพฯ). สืบค้นจากhttp://www.dpu.ac.th/laic
Sembiring, E. (2010). Integration of economics and social factors into optimization of solid wasted management system (Doctoral dissertation, Asian Institute of Technology, Pathum Thani). Retrieved from http://libopac.ait.ac.th/
มานพ จันทร์เทศ. (2544). การนําเสนอรูปแบบการพัฒนานโยบายของสถาบันราชภัฏ (ปริญญานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กรุงเทพฯ). สืบค้นจาก http://tdc.thailis.or.th/tdc
Oshi, D. (2009). Rural women and the financing of health care in Nigeria (Doctoral dissertation, Institute of Social Studies). Retrieved from http://libopac.ait.ac.th/
ศรีคุณ วิวัฒน์เสรี. (2546). การศึกษาแนวโน้มของหลักสูตรนิเทศศาสตร์ในทศวรรษหน้าในทัศนะของนักวิชาการและนักวิชาชีพนิเทศศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตไม่ได้รับการตีพิมพ์). มหาวิทยาลัยสยาม, กรุงเทพฯ.
7. สื่ออิเล็กทรอนิกส์
สุรชัย เลี้ยงบุญเลิศชัย. (2554). จัดระเบียบสํานักงานทนายความ. สืบค้น 21 มิถุนายน 2554, จาก http://www.lawyerscouncil.or.th/2011/index.php?name=knowledge
CNN Wire Staff. (2011). How U.S. forces killed Osama bin Laden. Retrieved May 3, 2011, from http://www.cnn.com/2011/WORLD/asiapcf/05/02/bin.laden.raid/index.html
บงการ หอมนาน. (2551). เทคโนโลยีกับการควบคุมด้วยตรรกะฟัซซีตามขั้นตอนและฟังก์ชั่นสมาชิก. ไมโครคอมพิวเตอร์, 26(271), 153-156. สืบค้น 22 มิถุนายน 2554, จาก http://www.dpu.ac.th/laic/page.php?id=5753
สุนันทา เลาวัณย์ศิริ. (2553). ธาตุอาหารหลักของน้ำสกัดชีวภาพแบบเข้มข้นจากขยะครัวเรือน. วารสารออนไลน์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 29(2). สืบค้น 21 มิถุนายน 2554, จาก http://www.journal.msu.ac.th/index.php?option=com_content&task=
Buckingham, J. T., LeBeau, L. S., & Klein, W. M. P. (2011). The performance versus ability distinction following social comparison feedback. Current Research in Social Psychology: An electronic journal. Retrieved June 23, 2011, from http://www.uiowa.edu/grpproc/crisp/crisp.html
8. หนังสือหลายเล่มจบ
พุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช, พระบาทสมเด็จพระ. (2553). บทละครเรื่องรามเกียรติ์ (เล่ม 3) (พิมพ์ครั้งที่ 11). กรุงเทพฯ: บรรณกิจ1991.
Miller, T. (Ed.). (2003). Television: Critical concepts in media and cultural studies (Vols. 1). London: Routledge.
9. หนังสือแปล
เกรย์, เจ. (2552). ผู้ชายมาจากดาวอังคารผู้หญิงมาจากดาวศุกร์[Men are from mars, women are from venus] (สงกรานต์ จิตสุทธิภากร, ผู้แปลและเรียบเรียง) (พิมพ์ครั้งที่ 26). กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.
Luang Poo Buddha Isara. (2008). Valuable adages of Luang Poo Buddha Isara (T. Wongamatasiri, & O. Limtasiri, Trans). Ratchaburi: Thammaruk.
9. การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ
ารทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ: วิธีการปฏิบัติทีละขั้นตอน โดย อัจฉรา คำมะทิตย์ และมัลลิกา มากรัตน์ Secondary Study, Review Question, PICO Framework, Inclusion Criteria, Exclusion Criteria, Searching Terms, Database, Critical Appraisal = ประเมินค่าผลงาน, Data Extraction Sheet = แผนงานสกัดข้อมูล ซึ่ง PICO มี 7 ขั้นตอนในการค้นหาที่สมบูรณ์แบบ โดย PICO (Problem, Intervention, Comparator, Outcome) ประกอบด้วย 1) กำหนดคำถาม 2) ระบุคำสำคัญสำหรับแต่ละองค์ประกอบ 3) วางแผนการสืบค้น 4) ดำเนินการสืบค้น 5) ปรับแต่งผลลัพธ์ 6) รีวิวผลลัพธ์ 7) ประเมินหลักฐาน
ebsco.com/..PICO-Search-White-Paper-TH.pdf
slideshare.net/songsri/pico-6943752
hmong.in.th/wiki/PICO_process
แชร์ข้อมูลใน km+ebook
10. ดัชนีความคล้ายคลึง
ามที่ได้อ่านจาก thailibrary.in.th พบว่า Pharmaceutical and Biosciences Journal และ Bentham Science ได้ระบุในเงื่อนไขการรับบทความวารสารต้นฉบับเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ว่า อนุญาตให้มีความคล้ายคลึงกันโดยรวม 20% สำหรับต้นฉบับที่จะพิจารณาเพื่อตีพิมพ์ และมีความคล้ายคลึงกันของข้อความจากแหล่งเดียวที่ยอมรับได้คือ 5% ดังนั้น เรื่อง "ดัชนีความคล้ายคลึง" ระบุให้ 1) ความคล้ายคลึงโดยรวมไม่เกินร้อยละ 20 2) ความคล้ายคลึงจากแหล่งเดียวกันไม่เกินร้อยละ 5 พบว่า บางสถาบันกำหนดละเอียดลงไปว่า "ส่วนของผลการวิจัยและอภิปรายผลต้องมีค่าไม่เกินร้อยละ 10" เป็นเงื่อนไขที่น่ายึดเป็นแนวปฏิบัติสำหรับนักวิชาการที่ต้องการตีพิมพ์ผลงาน และตรวจสอบความเหมือน ด้วย อักขราวิสุทธิ์
อักขราวิสุทธิ์
11. การจัดการรายการต้นแบบ ใน MS Word
ปรแกรมเอกสาร (MS Word) มีคุณสมบัติหนึ่ง คือ ระบบบรรณานุกรม ที่เก็บรายการต้นแบบ และรายการปัจจุบัน ที่สามารถบันทึกแหล่งข้อมูล แล้วเลือกใช้รายการปัจจุบันในเอกสารที่เปิดอยู่ หรือนำมาแทรกเป็นเอกสารอ้างอิงท้ายรายงาน หรือท้ายบทความวิชาการได้ เมื่อถึงเวลาต้องสรุปเอกสารอ้างอิงนั่นเอง ดังนั้น นักวิจัย สามารถอ่าน เขียน สรุปรายการงานวิจัย บทความวิชาการ และบันทึกเป็นแหล่งข้อมูลให้ได้จำนวนและเนื้อหาที่เพียงพอ แล้วทำการรีวิวอย่างเป็นระบบ เลือกมาเขียนในรายงานการวิจัย 5 บทได้ มีขั้นตอนการใช้งาน คือ เข้าแถบเมนู, การอ้งอิง, จัดการแหล่งข้อมูล, มีแหล่งที่พร้อมใช้งานใน C:\Users\[user name] \AppData \Roaming \Microsoft \Bibliography \Sources.xml ซึ่งแฟ้ม Sources.xml ผู้วิจัยสามารถเพิ่ม ลบ แก้ไขได้ง่าย หากต้องการเลือกใช้ก็เพียงคัดลอกจากหน้าต่าง "รายงานต้นแบบ" เข้าหน้าต่าง "รายการปัจจุบัน" ซึ่งเอกสารอ้างอิงมีให้เลือกได้หลายรูปแบบ เช่น APA, Chicago, IEEE, MLA, Turabian ส่วนแฟ้ม Sources.xml มีหน้าที่เก็บรายการเอกสารที่ผู้วิจัยรวบรวมจากการค้นคว้าไว้ มีได้หลายแฟ้มตามโครงการ หรือบุคคลได้ เช่น Sources_burin.xml หรือ Sources_wtu20.xml ซึ่งการเรียกแฟ้มต้นแบบเข้ามาเปลี่ยนใน MS Word จะไม่ใช่การรวมรายการกับแฟ้ม Sources.xml เดิม แต่เป็นการเปิดใหม่แทนที่แฟ้มรายการต้นแบบเท่านั้น
นการแทรกบรรณานุกรม ยังมีตัวเลือก "บันทึกส่วนที่เลือกลงในแกลลอรีบรรณานุกรม" ที่เรียกมาใช้ได้ หรือเข้าไป "จัดระเบียบและลบออก" ผ่าน right click ก็ได้ โดยใช้ mouse คลุมเนื้อหาส่วนที่เลือก แล้วสั่งบันทึกฯ เพื่อเรียกใช้อีกครั้งภายหลัง
มีแฟ้มตัวอย่างทบทวนวรรณกรรมให้เป็นกรณีศึกษา
เอกสารอ้างอิง Sources_wtu20 xml และ docx
12. การค้นบทความวิจัยใน Google Scholar
การสืบค้นข้อมูลใน google scholar บทความวิจัยเกี่ยวกับ glycosaminoglycans
ตัวอย่างคำค้น
analysis = การวิเคราะห์
urinary = ปัสสาวะ
glycosaminoglycans = GAG - ไกลโคสะมิโนไกลแคน หรือ มิวโคโพลีแซ็กคาไรด์ คือ องค์ประกอบพื้นฐานของเนื้อเยื่อผิวหนังที่เป็นกลุ่มของโปรตีนเชิงซ้อน คอนดรอยอิตินซัลเฟต (Chondroitin sulfate) และกรดไฮยาลูรอน ซึ่งทั้งหมดทำหน้าที่บำรุงและฟื้นฟูผิว
ารสาร ไกลแคนวิทยา (Glycobiology) หากเราสืบค้นคำว่า analysis of urinary glycosaminoglycans ใน https://scholar.google.com/ พบว่า บทความใน Oxford University Press น่าอ่าน ซึ่งบทความนี้สามารถดาวน์โหลดได้ฟรี ที่ Xiaorui Han, Patience Sanderson, Sara Nesheiwat, Lei Lin, Yanlei Yu, Fuming Zhang, I Jonathan Amster, Robert J Linhardt, Structural analysis of urinary glycosaminoglycans from healthy human subjects, Glycobiology, Volume 30, Issue 3, March 2020, Pages 143–151, https://doi.org/10.1093/glycob/cwz088
Glycobiology - ไกลแคนวิทยา คือ การศึกษาโครงสร้างหน้าที่และบทบาททางชีววิทยาของคาร์โบไฮเดรต และ complex sugars หรือที่เรียกว่าไกลแคน (glycans)
Glycobiology ของ Oxford University Press ใน scimagojr.com
13. บทความ และการอ้างอิง IEEE ปี พ.ศ. 2533 และ 2534 วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ ค.ศ. 1990

อับดุลวาฮับ บูละ. (2533). มารู้จักสเปคเครื่องเสียง. วารสารวิทยบริการ, 1(3), 22-25.

ละอองดาว รัตรสาร. (2534). อิทธิพลของสภาพครอบครัวที่มีต่อการอ่านของเด็กนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมือง จังหวัดปัตตานี. วารสารวิทยบริการ, 2(2), 9-28.

อัญชลี กล่ำเพ็ชร. (2534). ความต้องการของอาจารย์และนักศึกษาในการใช้บริการตอบคำถามและช่วยการค้นคว้า ฝ่ายหอสมุดจอห์น เอฟ เคนเนดี้ สำนักวิทยบริการ. วารสารวิทยบริการ, 2(3), 25-44.

ณัฐภัทร รักษ์ตานนท์ชัย และ อานนท์ ทับเที่ยง. (2560). ปัจจัยด้านเว็บไซต์ที่มีผลต่อการจัดอันดับของกูเกิล กรณีศึกษาเว็บไซต์ช๊อปปิ้งไทย. Engineering Transactions, 20(1), 38-45


แนวทางการเขียนอ้างอิงแบบ IEEE
วารสาร Engineering Transactions
เปิดรับบทความ และคำแนะนำสำหรับผู้เขียน
เอกสารอ้างอิง (Reference) [1] ส่วนการฝึกอบรมและพัฒนา สำนักอำนวยการกลาง สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2550). คู่มือนักวิจัยมือใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วงศ์สว่างการพิมพ์ จำกัด. สิงหาคม 2550.
[2] สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. (2557). ตำราชุดฝึกอบรมหลักสูตร นักวิจัย.
[3] กัญญามน อินหว่าง. (2560). ระเบียบวิธีวิจัย.
[4] สถาบันวิจัยและพัฒนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่. (2563). คู่มือการเขียนรายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์.
[5] มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตอีสาน. (2559). คู่มือการทำวิจัย สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี ตามหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2559.
[6] กลุ่มงานวิจัยและข้อมูล สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. (2559). คู่มือการจัดทำรายงานการวิจัยของสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา (ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 2) พ.ศ.2559.
Thaiall.com