ชวนคิดต่างสร้างปัญญา

think difference
think difference

ถ้ามนุษย์เราคิดเหมือนกันหมด
ก็คงไม่มีนวัตกรรม ไม่มีปัญหา ไม่มีวิธีแก้ปัญหา
มีเรื่องราวมากมายเกี่ยวกับคำว่าคิดต่าง

1. “ให้เหล้าเท่ากับแช่ง
แล้วมีคนเห็นว่า “ในเมื่อไม่ดี แล้วทำไมไม่ให้เลิกขาย
เป็นข้อเสนอแนะที่ดีครับ แต่เงื่อนไขประกอบการตัดสินใจ
มีหลายองค์ประกอบ ไม่อาจใช้เหตุผลเดียว ตัดสินบางเรื่องได้
http://pantip.com/topic/13128190

2. “ทุกคนล้วนเป็นอัจฉริยะ แต่ถ้าคุณตัดสินปลาด้วยความสามารถในการปีนต้นไม้ของมัน
ก็จะทำให้ปลาตัวนั้นเชื่อว่าสิ่งนี้คือความโง่เขลา
” เขาว่าเป็นวาทะ Albert Einstein
แล้วมีคนเห็นว่า เกณฑ์ตัดสินไม่ยุติธรรม
ถ้าให้ยุติธรรม ต้องหาเกณฑ์ตัดสินที่ทำให้ทุกคนผ่านเกณฑ์ได้หมด
ไม่ตกหล่น เพราะถ้าตกหล่น แสดงว่าเกณฑ์ตัดสินไม่ดีพอสำหรับทุกคน
https://www.facebook.com/quotequotequote/posts/428866650481704

3. “จินตนาการสำคัญกว่าความรู้”
แล้วมีคนเห็นว่า “ทำให้เด็กเพ้อฝัน ไม่สนความรู้
”  – Albert Einstein
เพราะหยิบเอาแต่เปลือกของคำกล่าวข้างต้นมาใช้
https://www.facebook.com/pmkrrnmk/photos/at.221420964651027.50516.212877465505377.100000343096881/482418745217913/

ปัญญาในช็อกโกแลตร้อน (The wisdom in hot chocolate)

hot chocolate
hot chocolate

ปัญญาในฮอตช็อก ที่ผู้ใหญ่เล่าให้ฟัง
best for yourselves,
that is the source of your problems and stress

The wisdom in hot chocolate.

A group of graduates, well established in their careers,
were talking at a reunion and decided to go visit
their old university professor, now retired.
the conversation turned to complaints
about stress in their work and lives.

Offering his guests hot chocolate,
the professor went into the kitchen and returned
with large pot of hot chocolate and an assortment of cups
porcelain, glass, crystal, some plain looking,
some expensive, some exquisite – telling them
to help themselves to the hot chocolate
When they all had a cup of hot chocolate
in hand, the professor said:
Notice that all the nice looking, expensive cups
were taken, leaving behind the plain and cheap ones.
While it is normal for you
to want only the best for yourselves,
that is the source of your problems and stress.
The cup that you’re drinking from adds
nothing to the quality of the hot chocolate.
In most cases it is just more expensive and
in some cases even hides what we drink.
What all of you really wanted was hot chocolate,
not the cup: but you consciously went for the best cups.
And then you began eyeing each other’s cups.
Now consider this:
Life is the hot chocolate;
your job, money and position in society are the cups.

They are just tools to hold and contain life.
The cup you have does not define,
nor change the quality of life you have.
Sometimes, by concentrating only on the cup,
we fail to enjoy the hot chocolate God has provided us.
God makes the hot chocolate,
man chooses the cups.

The happiest people don’t have the best of everything.
They just make the best of everything that they have.
Live simply.
Love generously.
Care deeply.
Speak kindly.
And enjoy your hot chocolate!

ภารกิจของผู้บริหารด้านการศึกษา

education
education

ได้ follow ข้อมูลข่าวสารของ รมว.กระทรวงศึกษาธิการ
และกิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการศึกษา ที่
http://www.moe.go.th/moe/th/home/main.php

ซึ่งติดตามตั้งแต่มหาวิทยาลัยอีสานถูกเพิกถอนใบอนุญาตเมื่อปลายปี 2555 พบว่าการเป็นรัฐมนตรีไม่ใช่เรื่องง่ายเลย มีภารกิจรัดตัว คงหาเวลาส่วนตัว หรือทำอะไรสบาย ๆ ได้ยาก อย่างวันศุกร์ที่ 15 มีนาคม 2555 ก็เห็นมีกิจกรรมต่าง ๆ มากมายปรากฎในเว็บไซต์  ต้องพบผู้คนที่หลากหลาย

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน

เพลง เถื่อนแห่งสถาบัน
เพลง เถื่อนแห่งสถาบัน

มีเหตุการณ์ที่ทำให้ผมนึกถึงกลอนบทนี้ ปีละ 4 ครั้งเป็นอย่างต่ำ
จึงแต่งกลอน ที่คล้าย ๆ กัน แต่เติมคำว่า “ไม่” เข้าไปอีกคำ
ผมว่าความหมายเปลี่ยนไปนิดนึงนะครับ

วรรคที่ปรับแก้โดย anonymous

ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง         จึงไม่ คิดหา ความหมาย
ไม่หวัง เก็บอะไร ไปมากมาย         สุดท้ายขอกระดาษฉันแผ่นเดียว

??? มีคำถามว่า กลอน 2 ตอนนี้ ..  มีอะไรที่ต่างกัน ???

—————————————————————

ข้อมูลจาก wikipedia.org

เพลงเถื่อนแห่งสถาบัน หรือที่นิยมเรียกว่า ฉันจึงมาหาความหมาย
เป็นกลอนที่มีชื่อเสียงชิ้นหนึ่ง ซึ่งเป็นข้อเขียนหนึ่งในหลายชิ้น ที่มีอิทธิพลต่อการเคลื่อนไหวของขบวนการนักศึกษา “หัวก้าวหน้า” ยุคก่อนและหลัง 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 ซึ่งต่อมาได้พัฒนาไปสู่การเรียกร้องประชาธิปไตย ในเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 และ 6 ตุลาคม 2519 เนื้อหาของกลอนสะท้อนความรู้สึกนึกคิดของนักศึกษาคนหนึ่ง ซึ่งตั้งคำถามเชิงเสียดสีเกี่ยวกับปรัชญาการศึกษาในมหาวิทยาลัย

วรรคทองที่ติดปากที่สุดของกลอนนี้ [ใครกล่าว?] และเป็นที่มาของชื่อที่เป็นที่นิยม คือ วรรคที่ว่า:

ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง         ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย         สุดท้ายให้กระดาษฉันแผ่นเดียว

กลอนชิ้นนี้แต่งโดย วิทยากร เชียงกูล เมื่อสมัยยังเป็นนักศึกษาอยู่ที่คณะเศรษฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ แต่งขึ้นสำหรับ วันสถาปนาธรรมศาสตร์ ใน พ.ศ. 2511 ตีพิมพ์ครั้งแรกในหนังสือพิมพ์ยูงทอง เมื่อวันที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2511 และถูกตีพิมพ์อีกครั้งหนึ่ง ในหนังสือชื่อ “ฉันจึงมาหาความหมาย” ซึ่งเป็นการรวบรวมผลงานจำพวกบทกวีของวิทยากรในช่วงสมัยที่ยังศึกษาอยู่และช่วงที่เพิ่งจบ

กลอนทั้งหมด

ดอกหาง นกยูง สีแดงฉาน         บานอยู่ เต็มฟาก สวรรค์
คนเดิน ผ่านไป มากัน         เขาด้น ดั้นหา สิ่งใด
ปัญญา มีขาย ที่นี่หรือ         จะแย่ง ซื้อได้ ที่ไหน
อย่างที่โก้ หรูหรา ราคา เท่าใด         จะให้พ่อ ขายนา มาแลกเอา
ฉันมา ฉันเห็น ฉันแพ้         ยินแต่ เสียงด่า ว่าโง่เง่า
เพลงที่นี่ ไม่หวาน เหมือนบ้านเรา         ใครไม่เข้า ถึงพอ เขาเยาะเย้ย
นี่จะให้ อะไร กันบ้างไหม         มหาวิทยาลัย ใหญ่ โตเหวย
แม้นท่าน มิอาจให้ อะไรเลย         วานนิ่งเฉย อย่าบ่น อย่าโวยวาย
ฉันเยาว์ ฉันเขลา ฉันทึ่ง         ฉันจึง มาหา ความหมาย
ฉันหวัง เก็บอะไร ไปมากมาย         สุดท้าย ให้กระดาษ ฉันแผ่นเดียว
มืดจริงหนอ สถาบัน อันกว้างขวาง         ปล่อยฉัน อ้างว้าง ขับเคี่ยว
เดินหา ซื้อปัญญา จนหน้าเซียว         เทียวมา เทียวไป ไม่รู้วัน
ดอกหางนกยูง สีแดงฉาน         บานอยู่ เต็มฟาก สวรรค์
เกินพอ ให้เจ้า แบ่งปัน         จงเก็บกัน อย่าเดิน ผ่านเลยไป

http://th.wikipedia.org/wiki/

http://www.osknetwork.com/modules.php?name=News&file=article&sid=187