หลักของพาเรโต 80/20 มีตัวอย่างในหลายสาขาวิชา

output is hello world
output is hello world

The distribution is claimed to appear in several different aspects
relevant to entrepreneurs and business managers.
For example:
    80% of problems can be attributed to 20% of causes.
    80% of a company’s profits come from 20% of its customers
    80% of a company’s complaints come from 20% of its customers
    80% of a company’s profits come from 20% of the time its staff spend
    80% of a company’s sales come from 20% of its products
    80% of a company’s sales are made by 20% of its sales staff

http://c2.com/cgi/wiki?EightyTwentyRule

ตัวอย่างทางคอมพิวเตอร์ก็มี 4 ตัวอย่าง
1. Microsoft noted that by fixing the top 20% of the most-reported bugs, 80% of the related errors and crashes in a given system would be eliminated.
ไมโครซอฟต์บันทึกไว้ว่า การแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นบ่อย 20% ที่รายงานมากที่สุด จะทำให้ปัญหาที่เกี่ยวข้องอีก 80% ถูกจัดการไปด้วย
2. In load testing, it is common practice to estimate that 80% of the traffic occurs during 20% of the time.
ในการทดสอบการโหลด พบว่า 80% ระหว่างการโหลดนั้น ทุ่มไปกับ 20% ที่เป็นเรื่องของเวลา
http://www.somkiat.cc/think-before-load-testing/
3. In software engineering, Lowell Arthur expressed a corollary principle: “20 percent of the code has 80 percent of the errors. Find them, fix them!”
โลเวล อาร์เธอร์ นำเสนอหลักการข้อพิสูจน์ว่า “20% ของโค้ด มีข้อผิดพลาดอยู่ 80% ค้นหาและแก้ไขซะ”
Lowell Arthur คือ ผู้สั่งการภารกิจ Apollo 13
https://en.wikipedia.org/wiki/Jim_Lovell (James Arthur “Jim” Lovell, Jr.)
4. Software frameworks have often been observed to make 80% of use cases easier to implement and 20% of use cases much more difficult to implement.
กรอบซอฟต์แวร์ถูกพบได้บ่อยว่าการทำโปรแกรมเพื่อใช้ที่ง่ายขึ้น 80% มาจากส่วนที่ยากขึ้น 20%
อ้างอิงจาก https://en.wikipedia.org/wiki/Pareto_principle

ตามคลิ๊ปอธิบายกฎนี้ว่า
อะไรก็ตามที่อยู่เต็ม 100%
80% จาก 100% จะถูกครอบครองโดย 20%
และอะไรก็ตามที่เหลือจาก 20% จะถูกครอบครองโดย 80%


วิลเฟรโด พาเรโต นักเศรษฐศาสตร์ชาวอิตาเลี่ยน
พูดถึงหลักของพาเรโต ตั้งแต่ค.ศ.1895
โดยอธิบายว่า “สิ่งที่สำคัญจะมีอยู่เป็นจำนวนที่น้อยกว่าสิ่งที่ไม่สำคัญ
หรือ “สิ่งที่มีประโยชน์จะมีอยู่เป็นจำนวนที่น้อยกว่าสิ่งที่ไม่มีประโยชน์
ในอัตราส่วน 20 ต่อ 80 หรือ ที่เรียกกันว่า กฎ 80/20
[ด้านเศรษฐศาสตร์]
การผลิตของมีตำหนิขึ้น 20% จะเป็นปัญหา 80% ของปัญหาทั้งหมด
เสื้อผ้า 100 ตัว จะใจประจำอยู่เพียง 20 ตัว
จับกลุ่มทำรายงาน 10 คน จะมีเพียง 2 – 3 คนที่เป็นแกนนำ
อ่านหนังสือ 100 หน้า จะมีเพียง 20 หน้าเท่านั้นที่ถูกนำมาออกข้อสอบ
คน 100 คนทำงาน มีเพียง 20 คนที่มุ่งมั่นทำงาน และเจริญก้าวหน้า
ร้านขายของชำมีสินค้านับ 100 รายการ แต่รายได้ 80% มาจากสินค้าเพียง 20%
ประเทศทุนนิยม คนรวย 20% สร้างรายได้ให้ประเทศเป็น 80% ของรายได้ทั้งประเทศ
มูลค่ารายจ่ายกว่า 80% มาจากรายการที่ใช้จ่ายเพียง 20% ของรายการทั้งหมด
อ้างอิงจาก http://www.oknation.net/blog/knowledge09/2009/08/15/entry-1

อ้างอิงเพิ่มเติม http://www.clairenewton.co.za/my-articles/paretos-principle-the-80-20-rule.html