ศูนย์ไลก์ Zero like กับ ล้านไลก์ Million likes

โดยปกติ เรามักสนใจผู้คนรอบตัวเรา เพราะเราเป็นสัตว์สังคม และมักใช้เครือข่ายสังคม เพื่อสื่อสารพูดคุยกับเพื่อน หรือคนรู้จัก มีอยู่วันหนึ่งเข้าไป ส่อง ดูเฟซบุ๊กของคนที่ไม่ใช่เพื่อน เพราะสถานะบนเฟซบุ๊กบอกว่าเรายังไม่ใช่เพื่อนกัน พบว่า มีหลายโพสต์ของเพื่อนคนที่ไม่ใช่เพื่อน มียอด like เป็น 0 และมีจำนวนโพสต์แบบ zero like นี้มากกว่าโพสต์ของผมอย่างชัดเจน เพื่อนคนนี้เป็นคนแรก ที่พบสถิติ zero like สูงขนาดนี้ รู้สึกว่าตัวเลขเราจะใกล้เคียงกัน คือ เข้าใกล้ 0 แต่ของผมจะยอด like สูงกว่าหน่อย

แต่สำหรับผมแล้ว การมีโพสต์ที่มี zero like ถือว่าเป็นปกติ โดยเฉพาะในแฟนเพจ รวมเพื่อนไทยออล หรือ สวนนายบู เพราะผมไม่ตั้งใจโพสต์เพื่อให้ได้ like จากกลุ่มเป้าหมาย เช่นเดียวกับเพื่อนที่ผมเข้าไปพบโพสต์เหล่านั้น ซึ่งพฤติกรรมที่เห็นได้ชัดของคนที่มี zero like คือ
1) ไม่พยายามสร้างปฏิสัมพันธ์กับเพื่อนเฟส
2) เรื่องที่แชร์ไม่อยู่ในความสนใจของเพื่อนเฟส
3) มีวัตถุประสงค์ที่ไม่ใช่ของตนเอง

อยากถามว่า ท่านเคยพบคนที่มีพฤติกรรม 3 ลักษณะนี้หรือไม่

https://www.thaiall.com/socialmedia/

ในสื่อสังคม ยอดติดตาม ยอดเข้าถึงโพสต์ ยอดการมีส่วนร่วมกับโพสต์ ยอดไลก์ ยอดแชร์ ยอดแสดงความคิดเห็น สะท้อนถึงจำนวนสมาชิกที่เกี่ยวข้องในมุมมองที่หลากหลาย จากภาพในโพสต์ของ Wiriyah Eduzones เมื่อ 12 ก.พ.2566 พบว่า เกิดการมีส่วนร่วมกับโพสต์ในระดับหลักล้าน เท่ากับมีข้อมูลเข้าจำนวนมาก เมื่อท่านได้ สรุปเอาความคิดและข้อมูล นั่นหมายถึง เสียงของประชาชนกลุ่มนี้ ว่าสรุปไปในทิศทางใด ที่จะเสนอต่อไปยังหน่วยงานต่าง ๆ ทางด้านการศึกษา

ผมชอบติดตามเรื่องราวในเพจของ ดร.วิริยะ ฤาชัยพาณิชย์ ชอบอ่านความคิดเห็นของคุณครู แล้วเก็บเรื่องราวไปเล่าให้นิสิต คุณครู เพื่อนได้รับทราบ เพราะเป็นกรณีศึกษาที่น่าสนใจ บางเรื่องสื่อส่วนกลางก็นำไปแชร์ต่ออย่างกว้างขวาง เช่น “จรรยาบรรณวิชาชีพครู กับคำถามครูสวมชุดว่ายน้ำ” เมื่อหันไปมองเทียบกับโพสต์ศูนย์ไลก์ ที่อยู่บนเพจของผม หรือในโปรไฟร์ของผม ก็ทำให้คิดถึง Input, Process, Output, Outcome หรือ Feedback ที่มีต่อเป้าหมายของแต่ละโพสต์ รวมถึง SEO, Promotion และ Ranking ว่าจะถูกพัฒนาต่อยอดไปอย่างไร

Wiriyah Eduzones

ทดสอบการทำงานกับแฟ้มขนาด 1 ล้านไบท์

หน้าตาเว็บเพจที่ทดสอบ
หน้าตาเว็บเพจที่ทดสอบ

ได้มีการเขียนเว็บเพจ และใช้ java script มา 4 เว็บเพจ ทุกเว็บเพจมีขนาด 1 ล้านไบท์เท่ากัน
เพื่อทดสอบการใช้เวลา download ของ script แต่ละเว็บเพจ
ทดสอบใน firefox, chrome และ ie มีประเด็นที่สนใจดังนี้
1. เปิด และปิด script ในเว็บเพจ มีผลอย่างไร
2. การ refresh ของแต่ละ browser เมื่อใช้ no-cache แตกต่างกันหรือไม่

โดยใช้ javascript ในการประมวลผลเวลาของแต่ละหน้า ผลการทดสอบที่น่าสนใจ ดังนี้

การทดสอบที่ 1 พบว่า การส่งค่าผ่าน url จะทำให้ load เว็บเพจทั้งหน้าใหม่
เปิดเว็บเพจ http://www.thaiall.com/html/onemillion.htm ครั้งแรก
ใช้เวลาไป 6186 millseconds
เมื่อคลิ๊กลิงค์ Reload แบบส่ง get ใหม่ ใช้เวลาไป 9784 milliseconds
แต่ถ้า Refresh ผ่าน browser จะเรียก script เดิมจากใน cache ใช้เวลา 23 milliseconds

การทดสอบที่ 2 พบว่า การทำงานใน script เดียว ตั้งแต่ต้นถึงท้าย script จะใช้เวลาน้อยมาก
เปิดเว็บเพจ http://www.thaiall.com/html/onemillionv1.htm ครั้งแรก
ใช้เวลาไป 4 millseconds ซึ่งไม่ได้สะท้อนเวลาจริง
เมื่อเปลี่ยนเป็น Reload หรือ Refresh แบบใด ก็ใช้เวลาเท่าเดิม
เพราะทั้งเว็บเพจมีคำว่า script คำเดียว ทุกอย่างอยู่ใน script เดียว หรือ thread เดียว
ไม่มีการเปิดปิด tag script หลายครั้ง เป็นการทำงานใน thread เดียวกัน
จึงได้เวลาจากการประมวลผลตั้งแต่ต้น thread ถึงท้าย thread ไม่แตกต่างกันมากนัก

การทดสอบที่ 3 พบว่า เป็นการทดสอบที่ยืนยันผลของการทดสอบที่ 1
เปิดเว็บเพจ http://www.thaiall.com/html/onemillionv2.htm ครั้งแรก
ใช้เวลาไป 6077 millseconds
ใช้เทคนิคว่า การเปิด tag script ต้นแฟ้ม และปิดทันที เพื่อบันทึกเวลาเริ่มต้น
แล้วเปิด tag script ท้ายแฟ้ม เพื่อประมวลเวลา และแสดงผล
จะแสดงเวลาที่ใช้ ในการ load เว็บเพจ ใกล้เคียงกับความเป็นจริง
คือ ใช้เวลาประมาณ 6 วินาที หรือ 6000 millisecond ต่อการ load หนึ่งครั้ง
แต่ถ้าโหลดจากใน cache ของ browser ก็จะใช้เวลาน้อยมาก คือ ไม่กี่ millisecond

การทดสอบที่ 4 พบว่า เป็นการทดสอบโดยเพิ่ม no-cache ที่ header
ว่า <meta http-equiv=”cache-control” content=”no-cache”>
เปิดเว็บเพจ http://www.thaiall.com/html/onemillionv3.htm ครั้งแรก
ใช้เวลาไป 9562 millseconds
ให้ผลเหมือนกับกรณีทดสอบที่ 1 เมื่อทดสอบบน firefox และ chrome
แต่บน ie (internet explorer) 11
การ refresh ของ browser ใช้เวลา 3776 milliseconds หรือประมาณนี้
สรุปว่า ie ยอมรับคุณสมบัติ no-cache ทำให้การ refresh จะ load ข้อมูลมาใหม่ทุกครั้ง
และการ force reload ด้วยการกด Ctrl-F5 สามารถใช้ได้กับทุก browser ที่ทดสอบ

สรุปว่า การเปิดปิด script หลายครั้ง มีผลแตกต่างกับการเปิดครั้งเดียว
การนำไปใช้ให้เกิดประโยชน์ ขึ้นอยู่กับการออกแบบเว็บเพจ
และคุณสมบัติ no-cache ก็ใช้ได้กับบาง browser เท่านั้น ไม่ควรไว้วางใจ
และการโหลดภาพไม่มีผลต่อเวลาในการโหลดเว็บเพจ เพราะแยกส่วนกันชัดเจน

ลงทุนกับอุปกรณ์เสริมการสอนปีละหลายล้านกับโรงเรียนในอังกฤษ แต่ได้ไม่คุ้ม

windows 8 ในอุปกรณ์ต่าง ๆ
windows 8 ในอุปกรณ์ต่าง ๆ

http://reviews.cnet.com/8301-3121_7-57531284-220/windows-8-the-complete-new-pc-launch-list/

UK schools waste ‘millions’ a year on useless gadgets

ประเด็นแรก .. งบประมาณกับประสิทธิภาพ
Summary: Are school budgets being battered (ทำลาย) by teachers who buy but never use the latest(ล่าสุด) gadget(อุปกรณ์เชิงกล)?

In the last five years, UK schools have spent over £1 billion pounds on buying the latest must-have gadgets, digital learning tools and software.
[1 British pound = 49.404908 Thai baht]

But how much of this investment is actually put to good use?

According to research released by non-profit organisation Nesta, although such a vast (มหาศาล) amount has been invested to modernize the British education system, there is “little evidence of substantial success” in improving learning through newly-acquired digital tools.
[อันดับระบบการศึกษา 2555 อังกฤษอยู่อันดับ 6 สหรัฐอยู่อันดับ 17 ไทย 37 จากทั้งหมด 40]
http://www.thaiall.com/blogacla/admin/2176/

Although technological advances can offer better access to educational material and interactive ways to learn, it isn’t an effortless process. In order to integrate technology within the classroom effectively, from replacing traditional textbooks with iPads to smart whiteboards, structured teaching and a balance between technology and core lesson aims have to be maintained.

As the report notes, it’s too easy to forget that not everyone is tech-savvy (เข้าใจ). As a former teacher, I recall working in several schools that would furnish their classrooms with the latest sparkly product, but forget to train their staff in its use, or assist them in ways to integrate technology within lesson plans. A desktop computer, tablet, smartphone or gaming system takes time to understand, and for busy teachers, finding methods to use this technology to achieve a learning aim may not be so simple.

The report suggests that spending £450 million pounds a year without evidence that it is improving education is nothing more than counter-productive. Instead of “fetishising (เครื่องราง) the latest kit“, Nesta says that teachers should make better use of what they already have.

In addition, the researchers say that many businesses are offering only “superficial (เพียงผิวเผิน)” benefits to learning, and too many apps and digital games are used to sugar-coat dull and misdirected lessons.

However, teachers also need support, and must become “confident users of digital technology in order to deal with (ขับเคี่ยว) the complexity and safety of digital tools.” Rather than using technology in an isolated way — only for tablets to be returned to the cupboard (ตู้อาหาร) after a lesson ends — it should act as a conduit (รางน้ำ) to keep learning going outside of school. By using the Internet to keep a learning network open and accessible, “social” tools, cloud computing and online groups could result in more effective teaching.

Rather than leaving millions of pounds’ worth of equipment “languish (เหี่ยวเฉา)  unused or underused in school cupboards”, the researchers suggest that in a time where economic problems are causing educational cutbacks, technology should serve as a tool rather than a distraction (เครื่องล่อใจ). Instead of giving in to the “hype” of digital learning, schools should reconsider how technology can serve as method to boost (ส่งเสริม)  education — rather than a way to make ineffective teaching methods look innovative and exciting.

#share in my facebook page
ที่อังกฤษพึ่งรู้ว่าการใช้ไอทีในโรงเรียน ไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเท่าที่คาด เขาคิดว่าเสียเงินมากไปเมื่อเทียบกับผล แต่ผมว่ามีการหมุนเวียนของงบประมาณไปที่บริษัทไอที
The English know how to do it in schools is not only powerful tools that expect him to lose much thought when compared with the results, but I have a turnover of budget to it.
+ http://www.zdnet.com/uk-schools-waste-millions-a-year-on-useless-gadgets-7000007520/

+ http://www.zdnet.com/meet-the-team/uk/charlie.osborne/

ประเด็นที่ 2 .. ปัญหาของ online course
ผู้จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในต่างประเทศกังวลเรื่องการควบคุมการโกง แล้วพบมาแล้วว่าเทคนิคการโกงจากการเรียนผ่าน online course มีดังนี้
1. บทความขโมยความคิด (plagiarized essays)
2. ร่วมกันทำข้อสอบ (illicitly collaborated on exams)
3. โพสออนไลน์ (posted solutions to test questions online)
4. ส่งคำตอบให้เพื่อน (emailed answers to classmates)
+ http://nation.time.com/2012/11/19/mooc-brigade-can-online-courses-keep-students-from-cheating/
“We need to be sure that the student who took the course is indeed who they say they are—that they did all the work,” said edX President Anant Agarwal. “That’s a real problem for MOOCs.”
MOOCs = Massive Open Online Courses

ประเด็นที่ 3 .. คำแนะนำต่อผู้กำหนดนโยบาย
5 บทเรียนสำหรับผู้กำหนดนโยบาย (Five lessons for education policymakers)
1. ไม่ใช่มายากล ต้องใช้งบประมาณ (There are no magic bullets)
2. ยอมรับครู (Respect teachers)
3. วัฒนธรรมไปร่วมกับการศึกษา (Culture can be changed)
4. พ่อแม่ต้องไม่เป็นอุปสรรค (Parents are neither impediments to nor saviours of education)
5. การศึกษาไม่ใช่อนาคต แต่เป็นปัจจุบัน (Educate for the future, not just the present)
http://thelearningcurve.pearson.com/the-report/executive-summary

ประเด็นที่ 4 .. แนะนำเกมขยับกันหน่อย (ต.ย.เกมบน android)

x-runner for android
x-runner for android

https://play.google.com/store/apps/details?id=com.droidhen.game.xrunner.apps

http://thaidroid-appvisor.blogspot.com/2012/10/x-runner.html