คำแนะนำเรื่องการทำแผนกลยุทธ์ ของรศ.นพ.อำนาจ อยู่สุข

รศ.นพ.อำนาจ อยู่สุข
รศ.นพ.อำนาจ อยู่สุข

หมออำนาจ หรือ  รศ.นพ.อำนาจ อยู่สุข
ได้ให้คำแนะนำเรื่องการทำแผนกลยุทธ์ไว้ถึง 2 เวที
แล้วได้เรียบเรียงมาเป็นข้อพึงระวังในการจัดทำแผนกลยุทธ์ ไว้ดังนี้
1. การทำแผนกลยุทธ์ต้องนั่งคุยกันหลายคน  (Real participation)
และหลายครั้ง ให้เกิดการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วน
เพื่อให้ได้ประเด็นจากหน่วยต่าง ๆ อย่างครบถ้วน และเข้าใจถูกต้องตรงกัน
2. ในแผนกลยุทธ์ก็ต้องกำหนดตัวบ่งชี้ และเกณฑ์ให้ชัดเจน (Numeric indicator)
ควรเป็นตัวเลขจะได้วัดง่าย และกำหนดแต่ละปีจะได้เห็นพัฒนาการ
ว่าปีแรกทำเท่าไร ปีที่สองเท่าไร และเมื่อถึงปีสุดท้ายทำได้เท่าใด
3. การทำแผนปฏิบัติการก็ต้องล้อกันกับแผนกลยุทธ์ (Check & action)
ว่าปีนี้ทำแค่ไหน ปีต่อไปทำแค่ไหน และมีการประเมินผลความสำเร็จในแต่ละปี
ตามแผนปฏิบัติการ และแผนกลยุทธ์
เป็นวงจร Plan Do Check and Action
4. วิสัยทัศน์อยากเห็นอะไร (Follow on vision & mission)
ก็ต้องอยู่ในแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ
ถ้าไม่เขียนไว้ก็จะไม่มีงบประมาณมาดูแลให้เป็นไปตามวิสัยทัศน์
ประเด็นพันธกิจก็ต้องชัดเจน ถ้าไม่ชัดเจนเวลาตั้งงบก็จะไม่ชัดเจนไปด้วย
5. แผนกลยุทธ์ทางการเงินต้องมีกลยุทธ์สอดรับกับแผนกลยุทธ์ (Budget in plan)
และมีการจัดสรรงบประมาณให้กับแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์
ตามแผนงบประมาณอย่างสมเหตุสมผล ไม่ควรไปกันคนละทิศละทาง

ลงทุนกับอุปกรณ์เสริมการสอนปีละหลายล้านกับโรงเรียนในอังกฤษ แต่ได้ไม่คุ้ม

windows 8 ในอุปกรณ์ต่าง ๆ
windows 8 ในอุปกรณ์ต่าง ๆ

http://reviews.cnet.com/8301-3121_7-57531284-220/windows-8-the-complete-new-pc-launch-list/

UK schools waste ‘millions’ a year on useless gadgets

ประเด็นแรก .. งบประมาณกับประสิทธิภาพ
Summary: Are school budgets being battered (ทำลาย) by teachers who buy but never use the latest(ล่าสุด) gadget(อุปกรณ์เชิงกล)?

In the last five years, UK schools have spent over £1 billion pounds on buying the latest must-have gadgets, digital learning tools and software.
[1 British pound = 49.404908 Thai baht]

But how much of this investment is actually put to good use?

According to research released by non-profit organisation Nesta, although such a vast (มหาศาล) amount has been invested to modernize the British education system, there is “little evidence of substantial success” in improving learning through newly-acquired digital tools.
[อันดับระบบการศึกษา 2555 อังกฤษอยู่อันดับ 6 สหรัฐอยู่อันดับ 17 ไทย 37 จากทั้งหมด 40]
http://www.thaiall.com/blogacla/admin/2176/

Although technological advances can offer better access to educational material and interactive ways to learn, it isn’t an effortless process. In order to integrate technology within the classroom effectively, from replacing traditional textbooks with iPads to smart whiteboards, structured teaching and a balance between technology and core lesson aims have to be maintained.

As the report notes, it’s too easy to forget that not everyone is tech-savvy (เข้าใจ). As a former teacher, I recall working in several schools that would furnish their classrooms with the latest sparkly product, but forget to train their staff in its use, or assist them in ways to integrate technology within lesson plans. A desktop computer, tablet, smartphone or gaming system takes time to understand, and for busy teachers, finding methods to use this technology to achieve a learning aim may not be so simple.

The report suggests that spending £450 million pounds a year without evidence that it is improving education is nothing more than counter-productive. Instead of “fetishising (เครื่องราง) the latest kit“, Nesta says that teachers should make better use of what they already have.

In addition, the researchers say that many businesses are offering only “superficial (เพียงผิวเผิน)” benefits to learning, and too many apps and digital games are used to sugar-coat dull and misdirected lessons.

However, teachers also need support, and must become “confident users of digital technology in order to deal with (ขับเคี่ยว) the complexity and safety of digital tools.” Rather than using technology in an isolated way — only for tablets to be returned to the cupboard (ตู้อาหาร) after a lesson ends — it should act as a conduit (รางน้ำ) to keep learning going outside of school. By using the Internet to keep a learning network open and accessible, “social” tools, cloud computing and online groups could result in more effective teaching.

Rather than leaving millions of pounds’ worth of equipment “languish (เหี่ยวเฉา)  unused or underused in school cupboards”, the researchers suggest that in a time where economic problems are causing educational cutbacks, technology should serve as a tool rather than a distraction (เครื่องล่อใจ). Instead of giving in to the “hype” of digital learning, schools should reconsider how technology can serve as method to boost (ส่งเสริม)  education — rather than a way to make ineffective teaching methods look innovative and exciting.

#share in my facebook page
ที่อังกฤษพึ่งรู้ว่าการใช้ไอทีในโรงเรียน ไม่ใช่เครื่องมือที่มีประสิทธิภาพเท่าที่คาด เขาคิดว่าเสียเงินมากไปเมื่อเทียบกับผล แต่ผมว่ามีการหมุนเวียนของงบประมาณไปที่บริษัทไอที
The English know how to do it in schools is not only powerful tools that expect him to lose much thought when compared with the results, but I have a turnover of budget to it.
+ http://www.zdnet.com/uk-schools-waste-millions-a-year-on-useless-gadgets-7000007520/

+ http://www.zdnet.com/meet-the-team/uk/charlie.osborne/

ประเด็นที่ 2 .. ปัญหาของ online course
ผู้จัดการเรียนการสอนออนไลน์ในต่างประเทศกังวลเรื่องการควบคุมการโกง แล้วพบมาแล้วว่าเทคนิคการโกงจากการเรียนผ่าน online course มีดังนี้
1. บทความขโมยความคิด (plagiarized essays)
2. ร่วมกันทำข้อสอบ (illicitly collaborated on exams)
3. โพสออนไลน์ (posted solutions to test questions online)
4. ส่งคำตอบให้เพื่อน (emailed answers to classmates)
+ http://nation.time.com/2012/11/19/mooc-brigade-can-online-courses-keep-students-from-cheating/
“We need to be sure that the student who took the course is indeed who they say they are—that they did all the work,” said edX President Anant Agarwal. “That’s a real problem for MOOCs.”
MOOCs = Massive Open Online Courses

ประเด็นที่ 3 .. คำแนะนำต่อผู้กำหนดนโยบาย
5 บทเรียนสำหรับผู้กำหนดนโยบาย (Five lessons for education policymakers)
1. ไม่ใช่มายากล ต้องใช้งบประมาณ (There are no magic bullets)
2. ยอมรับครู (Respect teachers)
3. วัฒนธรรมไปร่วมกับการศึกษา (Culture can be changed)
4. พ่อแม่ต้องไม่เป็นอุปสรรค (Parents are neither impediments to nor saviours of education)
5. การศึกษาไม่ใช่อนาคต แต่เป็นปัจจุบัน (Educate for the future, not just the present)
http://thelearningcurve.pearson.com/the-report/executive-summary

ประเด็นที่ 4 .. แนะนำเกมขยับกันหน่อย (ต.ย.เกมบน android)

x-runner for android
x-runner for android

https://play.google.com/store/apps/details?id=com.droidhen.game.xrunner.apps

http://thaidroid-appvisor.blogspot.com/2012/10/x-runner.html

พลังจ่ายภาครัฐกับภาคเอกชน

11 มิ.ย.54 มีโอกาสคุยกับผู้รับเหมาเดินสายระบบเครือข่าย ที่ช่ำชองในการรับงาน เล่าสู่กันฟังว่า การรับงานจากหน่วยงานภาครัฐกับภาคเอกชนแตกต่างกันโดยสิ้นเชิง เพราะภาครัฐมีงบประมาณใช้จ่ายตามที่ขอ เมื่อใกล้สิ้นปีงบประมาณก็ต้องรีบใช้จ่ายให้หมด อาจเรียกได้ว่าเหลือกินเหลือใช้ เมื่อขึ้นปีใหม่ก็ของบประมาณกันใหม่ เริ่มต้นนับหนึ่งกันทุกปี ส่วนภาคเอกชนจะใช้จ่ายกันแต่ละทีคิดแล้วคิดอีก ต่อรองกันหลายรอบ บางทีตกลงได้งานมาแล้วก็ยังมาแก้รายละเอียด บางกรณีถูกขอเพิ่มงานในภายหลังแต่ไม่เพิ่มงบประมาณ จนบางครั้งต้องขอถอนตัว เพราะประเมินแล้วอาจไม่คุ้ม แต่ทำงานกับภาครัฐไม่ค่อยมีปัญหา ถ้ามีปัญหาก็รื้อทิ้งแล้วทำใหม่ในปีต่อไป

พลังจ่ายของภาครัฐนั้นมีมาก เพราะแหล่งงบประมาณมาจากเงินภาษีของประชาชน บางองค์กรมีการจัดทำกลยุทธ์ทางการเงิน เพื่อกำหนดว่างบประมาณเข้ามาทางใดบ้าง และจะออกไปทางใดบ้าง ทำให้คนสนิทของเจ้านายมักเปลี่ยนเครื่องคอมพิวเตอร์อยู่เสมอ แม้งานที่ทำจะเป็นเพียงการพิมพ์รายงานการประชุมก็ตาม บางทีความเหมาะสม หรือความคุ้มค่าของแต่ละคนอาจไม่เท่ากัน บางโครงการใช้งบประมาณมหาศาล แล้วไม่ประสบความสำเร็จ เพราะไม่ใช่ความต้องการของชุมชนที่แท้จริง หรือวิเคราะห์ความต้องการที่ไม่สมบูรณ์ แต่เกิดจากความต้องการของผู้ให้ เช่น ศูนย์คอมพิวเตอร์ ศูนย์สินค้าชุมชน ห้องสมุดหมู่บ้าน ในหลายพื้นที่ไม่ถูกใช้ประโยชน์เท่าที่ควร เนื่องจากขาดการดูแลบำรุงรักษาโดยคนในพื้นที่ร่วมกับหน่วยงานผู้ให้งบประมาณ

พลังจ่ายของภาคเอกชนส่วนใหญ่ มักไม่สูงนัก งบประมาณคือการลงทุน ที่ต้องประเมินว่าจะได้ผลตอบแทนกลับมาอย่างคุ้มค่าตามแผนกลยุทธ์ และแผนปฏิบัติการ จึงต้องวิเคราะห์ความเป็นไปได้โดยละเอียด ก่อนอนุมัติโครงการ/งบประมาณตามแผนการลงทุน ถ้าตัดสินใจลงทุนแบบไม่ระมัดระวังก็จะเสียงบประมาณอย่างไม่คุ้มค่า และเป็นต้นเหตุสำคัญทำให้บริษัท/ห้างร้านมากมายต้องปิดตัวลง ดังนั้นการวางแผนซื้อเครื่องคอมพิวเตอร์หรืออุปกรณ์ไอทีของภาคเอกชน จึงมักให้ความสำคัญกับการใช้ประโยชน์ ความต้องการของผู้ใช้ ความคุ้มค่าในการใช้จ่ายและผลตอบแทนที่จะคืนกลับมาเป็นสำคัญ