อินเทอร์เน็ตสอง (itinlife331)

internet2
อินเทอร์เน็ต 2

25 ก.พ.55 มีโอกาสเห็นข้อสอบเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ว่า อินเทอร์เน็ต (Internet) กับ อินเทอร์เน็ตสอง (Internet2) ต่างกันอย่างไร ซึ่งมีคำถามตามมาว่าจะมีนักเรียนระดับมัธยมกี่คนที่สนใจ หรือทราบว่ามีเรื่องนี้เกิดขึ้นในโลกของเรา แต่ถ้าไม่สนใจก็คงไม่ได้ เพราะปรากฎในข้อสอบวัดความรู้แล้ว ความเป็นมาของอินเทอร์เน็ตสองนั้นเริ่มต้นจากมหาวิทยาลัยชั้นนำในสหรัฐอเมริกาจำนวน 35 แห่ง เปิดตัวโครงการพัฒนาระบบอินเทอร์เน็ตใหม่ในเดือนตุลาคม 2539 มีการรวมตัว จัดประชุม กำหนดมาตรฐาน และตั้งชื่อจนเป็นที่ยอมรับว่า Internet2 ปัจจุบันมีข้อมูลเผยแพร่ผ่านเว็บไซต์ www.internet2.edu และมีสมาชิกจากหลายกลุ่ม โดยเฉพาะมหาวิทยาลัยในสหรัฐอเมริกาเข้าร่วมกลุ่มเพิ่มเป็นมากกว่า 200 แห่งแล้ว

วัตถุประสงค์ของอินเทอร์เน็ตสอง คือ การวางโครงสร้างเครือข่ายประสิทธิภาพสูงทดแทนเครือข่ายอินเทอร์เน็ตแบบเดิมที่มีข้อจำกัดหลายด้าน มุ่งให้บริการ สนับสนุนด้านการศึกษา วิจัย และทดสอบเทคโนโลยีใหม่ เพื่อนำมาใช้งานจริงในอนาคต ปัจจุบันเครือข่ายหลักของอินเทอร์เน็ตสองที่เชื่อมต่อมหาวิทยาลัยต่าง ๆ เข้าด้วยกันใช้ความเร็วสูง 2.5 จิกะบิตต่อวินาที หากเปรียบเทียบกับเครือข่ายหลัก (Backbone) ของสหรัฐอเมริกาที่ใช้กันอยู่ในปัจจุบัน พบว่ามีความเร็วประมาณ 45 เมกะบิทต่อวินาที แต่โครงการนี้ยังไม่มีแผนเปิดให้ผู้ใช้ตามบ้านได้ใช้งานในอนาคตอันใกล้

ข่าวเดือนกรกฎาคม 2554 พบว่า Berkeley Lab’s Energy Sciences Network (ESnet) และ Internet2 มีข้อตกลงร่วมกันพัฒนาโปรโตคอลเครือข่าย ANI (Advanced Networking Initiative) ให้มีความเร็วถึง 100 จิกะบิทต่อวินาที เมื่อนึกถึงความเร็วของอินเทอร์เน็ตตามบ้านในไทย เรามี High speed internet หรือ ADSL ที่เร็วสูงสุดถึง 100 เมกะบิทต่อวินาที ส่วนบริการ 3G ก็มักมีในเขตเมืองหลวงที่บริการด้วยความเร็วสูงสุด 4 เมกะบิทต่อวินาที ส่วนเครื่องโทรศัพท์ก็ต้องหารุ่นใหม่ที่รองรับเครือข่าย UMTS หรือ W-CDMA มีเทคโนโลยีรับส่งข้อมูล HSDPA หรือ HSUPA ถ้าสังเกตจะพบว่าความเร็วในจินตนาการของอินเทอร์เน็ตสอง กับความเร็วที่เราใช้อยู่ทุกวันนี้ห่างกันเหลือเกิน เราในฐานะผู้ใช้ตามบ้านคงต้องเฝ้ารอดูการพัฒนากันต่อไป ถ้าผู้ผลิตพร้อมเมื่อใดเราก็คงจะได้ใช้เมื่อนั้น

https://lists.internet2.edu/sympa/arc/i2-news/2011-07/msg00003.html

http://www.arip.co.th/news.php?id=406864

นักฟิสิกส์อาจจะเป็นคนกลุ่มแรกที่ใช้ความสามารถของเครือข่ายนี้ เมื่อมีการเปิดใช้งาน Large Hadron Collider แห่งองค์กรวิจัยนิวเคลียร์แห่งยุโรปที่มีแผนเปิดเดือนพฤษภาคมปีหน้า ซึ่งจะทำให้มีนักฟิสิกส์นับพันๆ คนสามารถเข้าถึงข้อมูลที่ออกมาจาก LHC

http://kitty.in.th/index.php/articles/internet2-the-next-generation-internet/

supercomputer ranking

The Tianhe-1A Supercomputer, located at National Supercomputer Center, Tianjin
The Tianhe-1A Supercomputer, located at National Supercomputer Center, Tianjin

ซูปเปอร์คอมพิวเตอร์ (Supercomputer) คือ เครื่องคอมพิวเตอร์แถวหน้าด้านความสามารถในการประมวลผล มีความเร็วในการคำนวณที่สูงที่สุด ถูกคิดค้นในทศวรรษ 1960 ริเริ่มการออกแบบโดย seymour cray ที่ Control Data Corporation (CDC)

The following table gives the Top 10 positions of the 38th TOP500 List released on November 14, 2011
1. K computer
Processor : RIKEN 88,128×8 SPARC64 VIIIfx processors     Fujitsu     RIKEN
Japan, 2011     Linux
2 . Tianhe-1A
NUDT YH Cluster 14,336×6 Xeon + 7168×14 NVIDIA Tesla, Arch (Proprietary)[4]     NUDT     National Supercomputing Center of Tianjin
China, 2010     Linux
3. Jaguar
Cray XT5 224,162 Opteron     Cray     Oak Ridge National Laboratory
United States, 2009     Linux (CLE)
4. Nebulae
Dawning TC3600 Blade 55,680 Xeon + 64,960 Tesla, InfiniBand     Dawning     National Supercomputing Center in Shenzhen (NSCS)
China, 2010     Linux
5. TSUBAME 2.0
HP Cluster Platform 3000SL 73,278 Xeon, Tesla     NEC/HP     GSIC Center, Tokyo Institute of Technology
Japan, 2010     Linux (SLES 11)
6. Cielo
Cray XE6 142,272 Opteron     Cray     Los Alamos National Laboratory
United States, 2010     Linux (CLE)
7. Pleiades
Altix 111,104 Xeon, InfiniBand     SGI     Ames Research Center
United States, 2011     Linux
8.Hopper
Cray XE6 153,408 Opteron     Cray     Lawrence Berkeley National Laboratory
United States, 2010     Linux (CLE)
9.Tera 100
Bull Bullx 138,368 Xeon, InfiniBand     Bull SA     Commissariat à l’énergie atomique (CEA)
France, 2010     Linux (XBAS)
10. Roadrunner
BladeCenter QS22/LS21 122,400 Cell/Opteron  IBM     Los Alamos National Laboratory
United States, 2009     Linux (Fedora 9)

http://en.wikipedia.org/wiki/Supercomputer
http://en.wikipedia.org/wiki/TOP500
http://www.toptenthailand.com/display.php?id=576
http://www.technologyreview.com/blog/mimssbits/25272/

เริ่มต้นกับซีรี่รวมมิตรคอมพิวเตอร์

15 ก.พ.55 ผู้ใหญ่ให้นโยบายว่า ควรทำคลิ๊ปวีดีโอช่วยสอนในแบบซีรี่ (series) ที่สอนในแต่ละหัวข้อ แบบแบ่งตอนเรียน ให้เพื่อนสามารถเรียนรู้ด้วยตนเอง (ตามหลักพรหมวิหาร 4 คือ เมตตาแปลว่าอยากให้เพื่อนเป็นสุข) และพูดถึงโปรแกรมบันทึกหน้าจอคอมพิวเตอร์ และเสียงจากอุปกรณ์รับเสียง ทั้ง camtasia หรือ camstudio ถ้าต้องการบันทึกหน้าจอจาก powerpoint หรือ screen capture พบว่า โปรแกรม camstudio เป็น opensource ที่สามารถ dowload มาใช้ได้ฟรี ก็เพียงพอแก่การใช้งานแล้ว  แต่ถ้าต้องการบันทึกหน้าจอ และซ้อนเสียงแบบมืออาชีพก็คงต้องใช้ camtasia ส่วนโปรแกรม Jing นั้นก็คล้ายกับ camtasia คือ มีจำหน่ายสำหรับมืออาชีพ แต่มีรุ่นทดลองใช้ที่ดาวน์โหลดได้

วันนี้เป็นครั้งแรกสำหรับการเริ่มต้นซีรี่ด้านคอมพิวเตอร์ ผมบันทึกเรื่อง “ส่วนต่าง ๆ ของเครื่องคอมพิวเตอร์” ที่บ้าน แล้วบันทึกในแฟ้ม .avi(only one) แล้วใช้ total video converter แปลงเป็น .mp4 เพื่อลดขนาดจาก hd แบบ avi เป็น mp4 สำหรับการ upload เข้า youtube.com ซึ่งลดได้เกือบ 10 เท่าทีเดียว .. สำหรับคลิ๊ปที่บันทึกแล้ว ผมไม่ได้นำมาตัดต่อเติมหัวท้ายในตอนแรก เพราะต้องการให้เป็น source file หากต้องการนำไปรวมเป็นชุดในภายหลังก็จะง่าย ต่างกับคลิ๊ปที่เคยทำก่อนหน้านี้ที่จะมีหัวท้าย และจบในตัว ดังนั้นคลิ๊ปซีรี่เหล่านี้จะเริ่มและจบแบบห้วน ๆ เลยครับ

http://www.software.co.th/productdetail.asp?id=13917 (จำหน่ายในประเทศ)
http://www.techsmith.com/camtasia.html
http://www.tempf.com/audio-and-video/47-Total-Video-Converter-3.61.html
http://www.techsmith.com/jing.html
http://www.4shared.com/video/_Yg2jVzH/computer_evolution.html
http://www.thaiall.com/vdoteach

camstudio
camstudio

http://camstudio.org

เรื่องลับระหว่างเพื่อน ใน blog

protect wordpress
protect wordpress
มีผู้ใหญ่ถามว่า ระบบการจัดการความรู้  (knowledge management) ถ้าต้องการให้รู้เฉพาะคน หรือเฉพาะสมาชิก เพราะมีบางเรื่องอยากเขียนแล้วให้เฉพาะรู้เฉพาะภายใน ที่ไม่เผยแพร่ไปภายนอก ปัจจุบัน wordpress ซึ่งเป็น blog system ที่ได้รับความนิยม รองรับตัวเลือกนี้ .. บางเรื่องเป็นความลับขององค์กร อย่างที่ steve jobs เคยคิดนวัตกรรมเรื่อง gui แล้วก็รู้กันเฉพาะในกลุ่มผู้พัฒนา mac แล้วต่อมา bill gates ก็พัฒนา windows 1.0 ให้มี gui บ้าง ซึ่งถูก steve jobs กล่าวหาว่าขโมย แต่ bill gates ก็ตอบกลับไป ทำนองว่า “เรื่องนี้คิดได้หลายมุม ก่อนผมจะทำ คุณก็ทำมาก่อนมิใช่หรือ” เพราะ gui นั้นเป็นแนวคิดของ xerox parc

webometrics.info on january 2012

january 2012
january 2012

ผลการจัดอันดับมหาวิทยาลัยในไทย 10 อันดับแรก และผลอันดับระดับโลก
1      140      Kasetsart University
2     173     Chulalongkorn University
3     202     Mahidol University
4     228     Prince of Songkla University
5     233     Khon Kaen University
6     236     Chiang Mai University
7     576     King Mongkut´s University of Technology Thonburi
8     638     Thammasat University
9     677     King Mongkut’s Institute of Technology Ladkrabang
10     727     Mahasarakham University

Since 2004, the Ranking Web is published twice a year (January and July), covering more than 20,000 Higher Education Institutions worldwide. We intend to motivate both institutions and scholars to have a web presence that reflect accurately their activities. If the web performance of an institution is below the expected position according to their academic excellence, university authorities should reconsider their web policy, promoting substantial increases of the volume and quality of their electronic publications. If you need further clarification regarding the motivations of the Ranking or the methodology

1. Size (Size)
The number of page references to the university and academic faculty can be found through search engines: Google, Yahoo, Live Search and Exalead
20%
2. Visibility
The number of external links associated with the university and all academic faculty that can be accessed through the search engine above.
Visibility does not mean hit, but the total number of links created by other sites pointing to a site in UNIKOM.
50%
3. Rich Files (Documents)
Availability of documents from a university academic articles which can be extracted from the internet, both in format: Word Document (. Doc), Adobe Acrobat (. Pdf), Microsoft Power Point (. Ppt) or Adobe postcript (. Ps).
15%
4. Scholar (Expert)
Paper or scientific works and quotations found in Google Scholar.
15%

เห็นเลขในแต่ละปีของสถาบันหนึ่ง
january 2008: 4183
july 2008: 4284
july 2009: 4325
january 2010: 5826
january 2011: 5336
july 2011: 4984
january 2012: 20245
ก็เห็นว่าผลต่างเยอะมาก

http://studyinthailand.org/study_abroad_thailand_university/university-ranking-Thailand.html

http://www.ichat.in.th/SoPonKPP/topic-readid79134-page1

บทเรียนเกี่ยวกับ apache

6 ก.พ.55 มีบทเรียนด้านคอมพิวเตอร์มาฝาก 2 เรื่อง
เกี่ยวกับ apache web server (ใช้ appserv)
1. พบคำว่า “Could not connect to the database”
ในหน้าแรกของ wordpress หลังจากปรับระบบนิดหน่อย ซึ่งเดิมใช้งานได้ปกติ
ปัญหานี้เกิดรหัสผ่านเข้า mysql ใน wp-config.php ไม่ตรงกับที่กำหนดไ…ว้
สรุปว่า รหัสของ mysql ไม่ถูกต้อง (หลายมือครับ)

2. เครื่องบริการหนึ่งเครื่องมี ip จำนวน 2 เบอร์
ต้องการให้เบอร์หนึ่งชี้ไปที่ host ตัวหนึ่ง และอีกตัวชี้ไปที่ host อีกตัว
จึงต้องกำหนด virtual host ใน httpd.conf

NameVirtualHost 10.10.10.10
<VirtualHost 10.10.10.10>
ServerAdmin burin_ruj@nation.ac.th
DocumentRoot C:\www\class
ServerName class.nation.ac.th
</VirtualHost>

บทเรียนปรับ blog เชื่อมกับ social media

blog.nation.ac.th
blog.nation.ac.th

บทเรียนปรับ blog ของ http://blog.nation.ac.th (default theme)  เพื่อเชื่อมกับ social media คือ facebook.com twitter.com และ google+ ตามนโยบายของด้านการตลาดของ อ.อุดม ไพรเกษตร ซึ่ง social media ของมหาวิทยาลัยในเบื้องต้นมี 3 แหล่งคือ
1. http://www.facebook.com/NationUNews
2. https://twitter.com/nationu_news
3. http://www.youtube.com/nationuniversity

ปัจจุบัน blog ของมหาวิทยาลัย
ใช้เทคโนโลยีเดียวกับ
http://thumbsup.in.th หรือ http://www.it24hrs.com
แต่ต่างกันที่ themes

ข้อมูลทางเทคนิค
http://developers.facebook.com/docs/reference/plugins/like-box/
header.php

<script type=”text/javascript”>var switchTo5x=true;</script>
<script type=”text/javascript” src=”http://w.sharethis.com/button/buttons.js”></script>
<script type=”text/javascript”>stLight.options({publisher:’33898e33-bca3-43a6-bdf0-d0e62c8d27b7′});</script>


widget


<div id=”fb-root”></div>
<script>(function(d, s, id) {
var js, fjs = d.getElementsByTagName(s)[0];
if (d.getElementById(id)) return;
js = d.createElement(s); js.id = id;
js.src = “//connect.facebook.net/en_US/all.js#xfbml=1&appId=169861339715833″;
fjs.parentNode.insertBefore(js, fjs);
}(document, ‘script’, ‘facebook-jssdk’));</script>
<div data-href=”http://www.facebook.com/NationUNews” data-width=”200″ data-show-faces=”true” data-stream=”true” data-header=”true”></div>
<br />
<br />
<script charset=”utf-8″ src=”http://widgets.twimg.com/j/2/widget.js”></script>
<script>
new TWTR.Widget({
version: 2,
type: ‘profile’,
rpp: 5,
interval: 30000,
width: 200,
height: 200,
theme: {
shell: {
background: ‘#333333’,
color: ‘#ffffff’
},
tweets: {
background: ‘#000000’,
color: ‘#ffffff’,
links: ‘#4aed05’
}
},
features: {
scrollbar: false,
loop: false,
live: false,
behavior: ‘all’
}
}).render().setUser(‘nationu_news’).start();
</script>
<br />
<br />
<span  class=’st_facebook_vcount’ displaytext=’Facebook’></span>
<span  class=’st_twitter_vcount’ displaytext=’Tweet’></span>
<span  class=’st_plusone_vcount’ ></span>

สถิติการจัดอันดับตามจำนวนผู้ติดตามในทวิตเตอร์

top followers
top followers

สถิติการจัดอันดับตามจำนวนผู้ติดตาม (Followers) จากมากไปน้อย ณ วันที่ 6 กุมภาพันธ์ 2555 พบว่า 5 อันดับแรกคือ @Khunnie0624 @Woodytalk @vajiramedhi @Tukky_ching100 @chocoopal จากภาพพบว่า อันดับแรกทิ้งห่างอันดับสองกว่าเท่าตัว สำหรับตารางนี้ สามารถใช้เพื่อเป็นกรณีศึกษา และติดตามการ tweet ของเพื่อนชาวไทยที่ได้รับความนิยม จากชาวทวิตเตอร์ด้วยกัน
ข้อมูลจาก http://www.lab.in.th/thaitrend/rank-follower.php

ผู้ติดตาม (Follower) หมายถึง จำนวนเพื่อนที่ติดตามผู้เขียน หรือรับข่าวสารจากผู้เขียน ไปแสดงในหน้าโฮมของผู้อ่าน ยิ่งมีจำนวนผู้ติดตามมาก ก็ยิ่งที่ทำให้ความคิดเห็นของผู้เขียน ถูกเผยแพร่มาก อาทิ มีผู้อ่าน (Followers) จำนวน 1 ล้านคน เมื่อส่งข้อความ 1 ครั้ง อาจมีเพื่อนที่ติดตามหรือผู้เห็นข้อความนั้นถึง 1 ล้านคน

http://www.facebook.com/NationUNews

https://twitter.com/nationu_news

http://www.youtube.com/nationuniversity

การใช้บริการ sharethis.com

แบ่งปัน เนื้อหา
แบ่งปัน เนื้อหา

sharethis คือ บริการอำนวยความสะดวกในการ share เนื้อหาจากหน้าเว็บเพจ
ส่งถึงหน้า social network ของเพื่อนโดยง่าย
1. สมัครสมาชิกกับ sharethis.com
2. เชื่อมบริการ social network เข้ากับ sharethis.com
3. เลือกใช้บริการเพิ่ม sharethis.com ใน website ของเรา
4. รับ code
<script type=”text/javascript”>var switchTo5x=true;</script>
<script type=”text/javascript” src=”http://w.sharethis.com/button/buttons.js”></script>
<script type=”text/javascript”>stLight.options({publisher: “f53e4e65-4d03-4886-8585-139c248fbbd1”}); </script>
และ
<span class=’st_sharethis_vcount’ displayText=’ShareThis’></span>
<span class=’st_facebook_vcount’ displayText=’Facebook’></span>
<span class=’st_twitter_vcount’ displayText=’Tweet’></span>
<span class=’st_linkedin_vcount’ displayText=’LinkedIn’></span>
<span class=’st_email_vcount’ displayText=’Email’></span>
5. ใส่เข้าไปในเว็บไซต์ของเรา
6. เพื่อนที่เข้ามาในเว็บไซต์สามารถ share content ไปใน social network ของพวกเขา

สำหรับ wordpress webmaster
1. เข้า admin, appearance, editor
2. เปิด header.php แล้ววาง script ก่อนปิด head tag
3. เปิด footer.php แล้ววาง span ก่อนเปิด div tag of footer

วันต่อมาผมก็แก้ไขใหม่
แก้ไข widget ของ twitter ให้เหลือเพียง rpp:3
และย้าย sharethis จาก footer.php ไปท้ายสุดของ comments.php

http://support.sharethis.com/customer/portal/articles/517333-analytics-faqs

การเพิ่ม profile widget ของ twitter

profile widget
profile widget

ข้อมูลมากมายไหลอยู่ในโลกเสมือนจริง กลุ่มคนที่ใช้ twitter ก็จะส่งเสียง tweet กันอยู่ตลอดเวลา เสียงที่ออกมาอยู่ในรูปข้อความ 140 ตัวอักษร ที่แนบลิงค์ได้ และเราสามารถนำเสียงนั้นไปแสดงในเว็บเพจได้ด้วยบริการที่เรียกว่า widget ซึ่งมีตัวเลือก 4 ตัวคือ profile widget, search widget, faves widget หรือ list widget หรือจะใช้ facebook application ก็ทำได้

เมื่อวันที่ 31 มกราคม 2555 ผมตัดสินใจผูก profile widget เข้ากับ blog  ที่ดูแลอยู่ เพื่อเข้าถึงกลุ่มคนอีกกลุ่มที่ติดอยู่ในโลกของ twitter เท่าที่สังเกต มีผู้คนไม่น้อยอยู่แต่ใน  twitter เพราะเขาไม่ได้ใช้ชีวิตกับการสืบค้นข้อมูล เพียงแค่ tweet ที่พลั่งพลูออกมา ก็หมดเวลาจะเหลียวซ้ายแลขวาแล้ว ถ้าจะพบพวกเขาก็ต้องเข้าไปในโลกของเขา

ดังคำว่า ไม่เข้าถ้ำเสือก็ไม่ได้ลูกเสือ แล้วนี่ก็ไม่ใช่เสือ แต่เป็น twitter

https://twitter.com/about/resources/widgets

โดยเพิ่ม profile widget เข้าไปใน wordpress ผ่าน Menu, Appearance, Widgets, Text ก็จะได้ผลเหมือนกล่อง twitter สีดำที่อยู่ทางขวาล่างของภาพ

<script charset=”utf-8″
src=”http://widgets.twimg.com/j/2/widget.js”></script>
<script>
new TWTR.Widget({
version: 2,
type: ‘profile’,
rpp: 9,
interval: 30000,
width: 200,
height: 300,
theme: {
shell: {
background: ‘#333333’,
color: ‘#ffffff’
},
tweets: {
background: ‘#000000’,
color: ‘#ffffff’,
links: ‘#4aed05’
}
},
features: {
scrollbar: false,
loop: false,
live: false,
behavior: ‘all’
}
}).render().setUser(‘thaiabc’).start();
</script>


Profile Widget
Display your most recent Twitter updates on any webpage.

Search Widget
Displays search results in real time! Ideal for live events, broadcastings, conferences, TV Shows, or even just keeping up with the news.

Faves Widget
Show off your favorite tweets! Also in real time, this widget will pull in the tweets you’ve starred as favorites. It’s great for moderation.

List Widget
Put your favorite tweeps into a list! Then show ’em off in a widget. Also great for moderation.